Episode Synopsis "ฆาราวาสชั้นเลิศ_ภรรยา7จำพวก"
คหบดี! เหตุไรหนอ มนุษย์ทั้งหลายในนิเวศน์ ของท่าน จึงส่งเสียงอื้ออึงเหมือนชาวประมงแย่งปลากัน. "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! นางสุชาดาคนนี้ ข้าพระองค์ นำมาจากตระกูลมั่งคั่งมาเป็นสะใภ้ในเรือน นางไม่เชื่อถือ แม่ผัว พ่อผัว สามี แม้แต่พระผู้มีพระภาค นางก็ไม่สักกระเคารพนับถือบูชา" ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกนางสุชาดาหญิงสะใภ้ ในเรือนว่า "มานี่แน่ะ! สุชาดา" นางสุชาดา หญิงสะใภ้ในเรือนทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควร ส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่าสุชาดา! ภริยาของบุรุษ๗ จำพวกนี้ ๗ จำพวก เป็นอย่างไรเล่า คือ (๑) ภริยาเสมอด้วยเพชฌฆาต (๒) เสมอด้วยโจร (๓) เสมอด้วยนาย (๔) เสมอด้วยเม (๕) เสมอด้วยพี่สาวน้องสาว (๖) เสมอด้วยเพื่อน (๗) เสมอด้วยทาสี สุชาดา! ภริยาของบุรุษ ๗ จำพวกนี้แล เธอเป็นจำพวกไหนใน ๗ จำพวกนั้น. "ม้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! หม่อมฉันยังไม่รู้ทั่วถึงความ แห่งพระดำรัสที่พระผู้มีพระภาคตรัสแล้วโดยย่อนี้ได้โดยพิสดาร. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! ขอประทานพระวโรกาส ขอ พระผู้มีพระภาค โปรดทรงแสดงธรรมแก่หม่อมฉัน โดยที่หม่อม ฉันจะพึงรู้ทั่วถึงเนื้อความแห่งพระดำรัสที่พระผู้มีพระภาคตรัส โดยย่อนี้ โดยพิสดารเถิด"สุชาดา! ถ้าอย่างนั้น เธอจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว (๑) ภริยาผู้มีจิตประทุษร้าย ไม่อนุเคราะห์ด้วย ประโยชน์เกื้อกูล ยินดีในชายอื่น ดูหมิ่นสามี เป็นผู้อัน เขาซื้อมาด้วยทรัพย์ พยายามจะฆ่าผัว ภริยาของบุรุษ เห็นปานนี้เรียกว่า วรกาภริยา ภริยาเสมอด้วยเพชฌฆาต. (๒) สามีของหญิงประกอบด้วยศิลปกรรม พาณิชยกรรม และกสิกรรม ได้ทรัพย์ใดมา ภริยาปรารถนา จะยักยอกทรัพย์ แม้มีอยู่น้อยนั้นเสีย ภริยาของบุรุษ เห็นปานนี้เรียกว่า โจรภริยา ภริยาเสมอด้วยโจร. (๓) ภริยาที่ไม่สนใจการงาน เกียจคร้าน กินมาก ปากร้าย ปากกล้ ร้ายกาจ กล่าวคำหยาบ ข่มขี่ผัวผู้ขยัน ขันแข็ง ภริยาของบุรุษเห็นปานนี้เรียกว่า อัยยาภริยา ภริยาเสมอด้วยนาย. (๔) ภริยาใดอนุเคราะห์ด้วยประโยชน์เกื้อกูล ทุกเมื่อ ตามรักษาสามีเหมือนมารดารักษาบุตร รักษา ทรัพย์ที่สามีหามาได้ไว้ ภริยาของบุรุษเห็นปานนี้เรียกว่า มาตาภริยา ภริยาเสมอด้วยมารดา. (๕) ภริยาที่เป็นเหมือนพี่สาวน้องสาว มีความ เคารพในสามีของตน เป็นคนละอายบาป เป็นไปตาม อำนาจสามี ภริยาของบุรุษเห็นปานนี้เรียกว่า ภคินึภริยา ภริยาเสมอด้วยพี่สาว น้องสาว. (๖) ภริยาใดในโลกนี้เห็นสามีแล้วชื่นชมยินดี เหมือนเพื่อนผู้จากไปนานแล้วกลับมา เป็นหญิงมีศีล มีวัตร ปฏิบัติสามี ภริยาของบุรุษเห็นปานนี้เรียกว่า สขีภริยา ภริยาเสมอด้วยเพื่อน. (๗) ภริยาใดสามีเฆี่ยนตี ขู่ตะคอก ก็ไม่โกรธ ไม่คิดพิโรธโกรธตอบสามี อดทนได้ เป็นไปตามอำนาจ สามี ภริยของบุรุษเห็นปานนี้เรียกว่า ทาสีภริยา ภริยา เสมอด้วยทาสี. ภริยาที่เรียกว่า วรกาภริยา โจรีภริยา อัยยาภริยา ภริยาทั้ง ๓ จำพวกนั้น ล้วนแต่เป็นคนทุศีลหยาบช้า ไม่เอื้อเฟื้อ เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงนรก. ส่วนภริยาที่เรียกว่า มาตาภริยา ภคินีภริยา สขีภริยา ทาสีภริยา ภริยาทั้ง ๔ จำพวกนั้น เพราะ ตั้งอยู่ในศีล ถนอมรักไว้ยั่งยืน เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึง สุคติ. สุชาดา! ภริยาของบุรุษ ๗ จำพวกนี้แล เธอเป็นภริยาจำพวกไหน ใน ๗ จำพวกนั้น. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปขอพระผู้มี พระภาคโปรดทรจำหม่อมฉันว่า เป็นภริยาของสามีผู้สมอด้วยทาสี.
Listen "ฆาราวาสชั้นเลิศ_ภรรยา7จำพวก"
More episodes of the podcast Jess
- ทาน_การให้ทานอันเป็นอริยะ(นัยที่3)_บทที่78
- ทาน_การให้ทานอันเป็นอริยะ (นัยที่2)_บทที่77
- ทาน_การให้ทานอันเป็นอริยะ (นัยที่1)_บทที่76
- ทาน_ธรรมทานเลิศกว่าอามิสทาน (นัยที่ 2)_บทที่75
- ทาน_ธรรมทานเลิศกว่าอามิสทาน (นัยที่ ๑)_บทที่74
- ทาน_ลักษณะของภิกษุผู้มีศีล_บทที่73-2
- ทาน_ลักษณะของภิกษุผู้มีศีล_บทที่73-1
- ทาน_ผู้ควรรับทักษิณา(นัยที่ 15)_บทที่72-2
- ทาน_ผู้ควรรับทักษิณา(นัยที่ 15)_บทที่72-1
- ทาน_ผู้ควรรับทักษิณา(นัยที่ 14)_บทที่71
- ทาน_ผู้ควรรับทักษิณา(นัยที่ 13)_บทที่70
- ทาน_ ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่12)_บทที่69
- ทาน_ ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่11)_บทที่68
- ธรรมะวันพระ (5/07/2024)
- ทาน_ ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่10)_บทที่67
- ทาน_ ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่9)_บทที่66
- ทาน_ ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่8)_บทที่65
- ผู้คนรับทักษิณา(นัยที่7)_บทที่64
- ผู้คนรับทักษิณา(นัยที่6)_บทที่63
- ธรรมะวันพระ(29/06/2024)
- ทาน_ ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่5)_บทที่62
- ทาน_ ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่4)_บทที่61
- ทาน_ผู้ควรรับทักษิณา(นัยที่3)_บทที่60
- ทาน_ผู้ควรรับทักษิณา(นัยที่2)_บทที่59
- ทาน_ผู้ควรรับทักษิณา(นัยที่1)_บทที่58
- ทาน_ผลของทานกับผู้รับ_บทที่57
- ธรรมะวันพระ(21/06/2024)
- ทาน_การวางจิตเมื่อให้ทาน_บทที่56
- ทาน_องค์ประกอบของทานที่ให้แล้วมีผลมาก(นัยที่2)บทที่55
- ทาน_องค์ประกอบของทานที่ให้แล้วมีผลมาก(นัยที่1)บทที่54
- ทาน_ผู้รับทานกับผลที่ได้นัยที่2_บทที่53
- ทาน_ผู้รับทานกับผลที่ได้นัยที่1_บทที่52
- ทาน_นาดี หรือ นาเลว_บทที่51
- ทาน_ไม่ควรห้ามผู้อื่นให้ทาน_บทที่50
- ทาน_ควรให้ทานในที่ใด(นัยที่2)_บทที่49
- ทาน_ควรให้ทานในที่ใด(นัยที่1) )_บทที่48
- ทาน_กรณีศึกษาภิกขุกรุงโกสัมพีแตกสามัคคีกัน_บทที่47
- ทาน_หลักการกำจัดเสี่ยนหนาม(คนไม่ดี)_บทที่46
- ธรรมะวันพระ(06/06/2024)
- ทาน_สังคมเลวเพราะคนดีอ่อนแอ_บทที่45
- ทาน_กลิ่นที่หอมทนลม_บทที่44
- ทาน_ประโยชน์เกื้อกูลของสัปบุรุษ_บทที่43
- ทาน_ทานของคนดี(นัยที่2)_บทที่42
- ทาน_ทานของคนดี(นัยที่1)_บทที่41
- ทาน_ทานของคนไม่ดีและทานของคนดี_บทที่40
- ทาน_ทานที่ให้แล้วมีผลน้อย_บทที่39
- ทาน_ผลของการต้อนรับบรรพชิตด้วยวิธีต่างกัน_บทที่38
- ทาน_ผู้ประสบุญเป็นอันมาก_บทที่37
- ทาน_ ความสงสัยในการให้ทานของเทวดา_บทที่ 36
- ทาน_สัดส่วนของทานศีลภาวนา_บทที่35
- ทาน_มหาทาน_บทที่34
- ทาน_ผลแห่งทาน-บทที่33
- ธรรมะวันพระ(22/05/2024)
- ทาน_เหตุในการให้ทาน_บทที่32
- ทาน_เหตุในการให้ทาน_บทที่31
- ทาน_เหตุในการให้ทาน_บทที่30
- ทาน_เหตุในการให้ทาน_บทที่29
- ทาน_จาคานุสติ_บทที่28
- ทาน_ ประโยชน์ของการสร้างวิหาร_บทที่27
- ธรรมะวันพระ(15/05/2024)
- ทาน_ทรัพย์ในอริยวินัย(นัยที่2)_บทที่26
- ทาน_ทรัพย์ในอริยวินัย(นัยที่1)_บทที่25
- ทาน_วิบากของคนตระหนี่และไม่ตระหนี่_บทที่24
- ทาน_เหตุให้ไปนรก-สวรรค์_บทที่23
- ทาน_ความตระหนี่เป็นมลทิน_บทที่22
- ทาน_ความตระหนี่ขวางกั้นการทำให้แจ้งซึ่งมรรคผล_บทที่21
- ทาน_การสงเคราะห์เทวดา_บทที่20
- ธรรมะวันพระ(07/05/2024)
- ทาน_การสงเคราะห์ผู้ล่วงลับ_บทที่19
- ทาน_หลักการดำรงชีพเพื่อประโยชน์สุขในสัมปรายะ_บทที่18
- ทาน_การใช้สอยโภคทรัพย์โดยไม่สูญเปล่า_บทที่17
- ทาน_หลักการใช้จ่ายทรัพย์_บทที่16
- ธรรมะวันพระ (01/05/2024)
- ทาน_การเกี่ยวข้องกันของนักบวชกับคฤหัสถ์_บทที่15
- ทาน_ปฏิปทาสมควรแก่คฤหัสถ์_บทที่14
- ทาน_ลักษณะของผู้มีศรัทธาเลื่อมใส_บทที่13
- ทาน_ธรรมที่บัณฑิตบัญญัติไว้_บทที่12
- ทาน_สังคหวัตถุ_บทที่11
- ทาน_หากสัตว์ทั้งหลายรู้ผลแห่งการจำแนกทาน_บทที่10
- ทาน_ความแตกต่างระหว่างผู้ให้กับผู้ไม่ให้_บทที่9
- ธรรมะวันพระ (22/04/2024)
- ทาน_การให้ทานเป็นเหตุให้เกิดทรัพย์_บททึ่8
- ทาน_ผู้ให้ของที่พอใจย่อมได้ของที่พอใจ_บทที่7
- ทาน_ผู้ให้ข้าวยาคูก็ชื่อว่าให้อายุ วรรณะ สุขะ พละและปฏิภาณ_บทที่6
- ทาน_ผู้ให้โภชนะชื่อว่าให้อายุ วรรณะ สุขะ พละและปฏิภาณ_บทที่5
- ทาน_อานิสงส์แห่งการให้ทาน_บทที่4
- ธรรมะวันพระ(16/04/2024)
- ทาน_ผลแห่งการให้ทานในปัจจุบันและสัมปรายะ_บทที่3
- ทาน_จาคะ(การบริจาค) เป็นอย่างไร_บทที่2
- ทาน_ ทาน(การให้) เป็นอย่างไร_บทที่1
- ทาน_คำนำ
- ทาน_บทนำ
- สกทาคามี_ เหตุสำเร็จความปรารถนา_บทที่69
- สกทาคามี_การเห็นเพื่อละอวิชชา_บทที่68
- ธรรมะวันพระ (08/04/2024)
- สกทาคามี_การเห็นเพื่อละอาสวะ_บทที่67
- สกทาคามี_การเห็นเพื่อละอนุสัย_บทที่66
- สกทาคามี_การเห็นเพื่อละสังโยชน์_บทที่65
- สกทาคามี_ ผลของการพิจารณาเห็นนิพพานโดยความเป็นสุข_บทที่64
- สกทาคามี_ ผลของการพิจารณาเห็นธรรมโดยความเป็นอนัตตา_บทที่63
- สกทาคามี_ ผลของการพิจารณาเห็นสังขารโดยความเป็นทุกข์_บทที่62
- ธรรมะวันพระ (1/04/2024)
- สกทาคามี_ผลของการพิจารณาเห็นสังขารโดยความไม่เที่ยง_บทที่61
- สกทาคามี_ละธรรม 5 อย่างได้ความเป็นอริยบุคคล_บทที่60
- สกทาคามี_อานิสงส์ของธรรม 4ประการ_บทที่59
- สกทาคามี_มีจิตฝังลงไปในสิ่งใดการเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไปย่อมมี_บทที่58
- สกทาคามี_มีจิตฝังลงไปในสิ่งใด การก้าวลงแห่งนามรปย่อมมี_บทที่57
- สกทาคามี_มีจิตฝังลงไปในสิ่งใด เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ย่อมมี_บทที่56
- สกทาคามี_ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา อุปายะและอุปาทาน ในขันธ์ ๕ คือ เครื่องนำไปสู่ภพ_บทที่55
- สกทาคามี_การตั้งอยู่ของความเจตนา หรือความปรารถนา คือ การบังเกิดในภพใหม่_บทที่54
- สกทาคามี_การตั้งอยู่ของวิญญาณคือการบังเกิดในภพใหม่_บทที่53
- สกทาคามี_ภพ3 (กามภพ รูปภพ อรูปภพ)_บทที่51
- สกทาคามี_นิพพานที่เห็นได้เอง_บทที่51
- สกทาคามี_เพราะมีความสิ้นไปแห่งนันทิจึงมีความสิ้นไปแห่งราคะ_บทที่50
- ธรรมวันพระ (17/03/2024)
- สกทาคามี_ เห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นของ น่าเบื่อหน่าย เพื่อละราคะ โทสะ โมหะ_บทที่49
- สกทาคามี_กาลละธรรม3 เพื่อละราคะโทสะโมหะ_บทที่48-2
- สกทาคามี_กาลละธรรม3 เพื่อละราคะโทสะโมหะ_บทที่48-1
- สกทาคามี_ศึกษาในสิกขา3 เพื่อละราคะโทสะโมหะ_บทที่47
- สกทาคามี_ เจริญอนุสติเพื่อละราคะโทสะโมหะ_บทที่46-2
- สกทาคามี_ เจริญอนุสติเพื่อละราคะโทสะโมหะ_บทที่46-1
- สกทาคามึ_เจริญอสุภะเพื่อละราคา เจริญเมตตาเพื่อละโทสะ เจริญปัญญาเพื่อละโมหะ_บทที่45
- ธรรมะวันพระ (09/03/2024)
- สกทาคามี_ความแตกต่างของราคะโทสะโมหะและวิธีละราคะโทสะโมหะ_บทที่44
- สกทาคามี_อาชีพที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับราคะโทสะโมหะ_บทที่43
- สกทาคามี_ เหตุให้เป็นคนดุร้ายหรือคนสงบเสงี่ยม_บทที่42
- สกทาคามึ_ไฟคือราคะโทสะโมหะ_บทที่41
- สกทาคามี_ธรรมที่เกิดขึ้นแล้วบรรเทาได้ยาก_บทที่40
- ธรรมะวันพระ(03/03/2024)
- สกทาคามี_เมื่อตั้งใจฟังธรรมกามฉันทะย่อมไม่มี_บทที่39
- สกทาคามี_อาหารของกามฉันทะ_บทที่38
- สกทาคามี_เหตุเกิดของกามฉันทะ_บทที่37
- สกทาคามี_ข้อปฏิบัติเพื่อดับอกุศลสังกัปปะ_บทที่36
- สกทาคามี_เหตุเกิดของอกุศลวิตก_บททีา35-2
- สกทาคามี_เหตุเกิดของอกุศลวิตก_บททีา35-1
- สกทาคามี_ไม่เวียนกลับไปสู่กามทั้งหลายอีกเพราะบรรลุสุขอื่นที่สงบกว่า_บทที่34
- สกทาคามี_ตั้งอยู่ในภูมิคนแก่เพราะละกามได้_บทที่33
- สกทาคามี_สุขที่ควรกลัวและไม่ควรกลัว_บทที่32
- สกทาคามี_คุณของกามและโทษของกาม_บทที่31-2
- สกทาคามี_คุณของกามและโทษของกาม_บทที่31-1
- สกทาคามี_เทียบเคียงลักษณะเทวดาชั้นดาวดึงส์_บทที่30
- สกทาคามี_กามอันเป็นทิพย์ปราณีตกว่ากามของมนุษย์_บทที่29-2
- สกทาคามี_กามอันเป็นทิพย์ปราณีตกว่ากามของมนุษย์_บทที่29-1
- สกทาคามี_กามเลว ปานกลาง และปราณีต_บทที่28
- สกทาคามี_กามคุณ5 คือเครื่องจองจำในอาริยะวินัย_บทที่27
- สกทาคามี_โลกคือสิ่งที่แตกสลายได้_บทที่26
- สกทาคามี_โลกในอริยะวินัยคือกรรมคุณ5_บทที่25-2
- สกทาคามี_โลกในอริยะวินัยคือกรรมคุณ5_บทที่25-1
- ธรรมะวันพระ (09/02/2024)
- สกทาคามี_ความหมายของกามและกามคุณ_บทที่24
- สกทาคามี_แม้แต่อริยบุคคลขั้นโสดาบัน ก็ไม่อาจแปรปรวน_บทที่23
- สกทาคามี_สัทธานุสารี ธัมมานุสารี โสดาบัน_บทที่22
- สกทาคามี_บุคคลผู้ควรแก่ของทำบุญ_บทที่21
- สกทาคามี_ผลของการประกอบตน ให้ติดเนื่องในความสุข ๔ ประการ_บทที่20
- สกทาคามี_อริยสาวกผู้ประกอบด้วยสังโยชน์ แต่ไม่มี_บทที่19 สังโยชน์ที่เป็นเหตุให้กลับมายังโลกนี้อีก
- สกทาคามี_ ข้อแตกต่างระหว่างอริยสาวกผู้ได้สดับกับปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ เมื่อได้สมาธิ (อรูปสัญญา)_บทที่18-2
- สกทาคามี_ ข้อแตกต่างระหว่างอริยสาวกผู้ได้สดับกับปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ เมื่อได้สมาธิ (อรูปสัญญา)_บทที่18-1
- สกทาคามี_ ข้อแตกต่างระหว่างอริยสาวกผู้ไดสดับกับปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ เมื่อเจริญพรหมวิหาร_บทที่17-2
- สกทาคามี_ ข้อแตกต่างระหว่างอริยสาวกผู้ได้สดับกับปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ เมื่อเจริญพรหมวิหาร_บทที่17-1
- สกทาคามี_ ข้อแตกต่างระหว่างอริยสาวกผู้ได้สดับกับปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ เมื่อได้สมาธิ (รูปสัญญา)_บทที่16-2
- สกทาคามี_ ข้อแตกต่างระหว่างอริยสาวกผู้ได้สดับกับปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ เมื่อได้สมาธิ (รูปสัญญา)_บทที่16-1
- สกทาคามี_ผู้เชื่อมั่นในตถาคต ที่สำเร็จในโลกนี้และที่รู้โลกนี้ไปแล้วจึงสำเร็จ_บทที่15
- สกทาคามี_บุคคลผู้พ้นทุคติหรือไม่ไปทุคติ_บทที่14
- ธรรมะวันพระ(25/01/2024)
- สกทาคามี_บุคคลที่มีเชื้อเหลือแต่ยังพ้นทุกคติ_บทที่13-2
- ธรรมะวันพระ(18/01/2024)
- สกทาคามี_บุคคลที่มีเชื้อเหลือแต่ยังพ้นทุกคติ_บทที่13-1
- สกทาคามี_ผู้ที่ต้องศึกษาสิกขา3_บทที่12
- สกทาคามี_สิกขา3_บทที่11
- สกทาคามี_ความเป็นอริยบุคคลกับสิกขา3_บทที่10
- สกทาคามี_ความเป็นอริยบุคตลกับการละกามโยคะและภวโยคะ_บทที่9
- สกทาคามี_สังโยชน์10_บทที่8
- ธรรมะวันพระ(10/01/2024)
- สกทาคามี_ ความเป็นอริยะบุคคลกับการละสังโยชน์_บทที่7
- สกทาคามี_เอกพีชี อินทรีย์5ยังอ่อนกว่าสกทาคามี_บทที่6
- สกทาคามี_ ความเป็นอริยบุคคลกับอินทรีย์5_บทที่5
- สกทาคามี_เป็นสกทาคามีได้กายชั้นดุสิต_บทที่4
- สกทาคามีเปรียบได้กับบุคคลผู้ว่าเข้าหาฝั่ง_บทที่3
- ธรรมะวันพระ(4/01/2024)
- สกทาคามี_สกทาคามีในภพมนุษย์_บทที่2
- สมณะบุณฑริก(สกทาคามี_บทที่1
- สกทาคามี_คำนำ-1
- สกทาคามี_คำนำ-1
- สกทาคามี_บทนำ
- สวัสดีปีใหม่_เริ่มอ่านหนังสือสกทาคามี
- ภพภูมิ_บุพกรรมของการได้ลักษณะมหาบุรุษ_บทที่145-5
- ภพภูมิ_บุพกรรมของการได้ลักษณะมหาบุรุษ_บทที่145-4
- ภพภูมิ_บุรพกรรมของ การได้ลักษณะของมหาบุรุษ_บทที่145-3
- ภพภูมิ_บุรพกรรมของ การได้ลักษณะของมหาบุรุษ_บทที่145-2
- ภพภูมิ_บุพกรรมของการลักษณะมหาบุรุษ_บทที่145-1
- ภพภูมิ_บริษัทสมาคม8_บทที่144
- ภพภูมิ_ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ_บทที่143
- ภพภูมิ_อริยมรรคมีองค์แปดคือข้อปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์_บทที่142
- ภพภูมิ_ลำดับการหลุดพ้นเมื่อเห็นอนัตตา_บทที่141
- ภพภูมิ_ลำดับการปฏิบัติเพื่อบรรลุอรหัตตผล_บทที่140
- ภพภูมิ_สิ่งนั้นมีแน่_บทที่139
- ภพภูมิ_สิ่งนั้นๆมีอยู่_บทที่138
- ภพภูมิ_ สิ่งนั้นหาพบในกายนี้_บทที่137
- ภพภูมิ_ดินน้ำไฟลมไม่อาจหยั่งลงได้ในที่ไหน_บทที่136
- ภพภูมิ_อสังขตลักษณะ_บทที่135
- ธรรมะวันพระ(12/12/2023)
- ภพภูมิ_สังขตลักษณะ_บทที่134
- ภพภูมิ_เมื่อใด“เธอ” ไม่มี_บทที่133
- ภพภูมิ_ความดับของอายตนะคือความดับของทุกข์_บทที่132
- ภพภูมิ_ดับตันปัญหาคือปลงภาระหนักลงได้_บทที่131
- ภพภูมิ_ละตัณหาได้คือละเบญจขันธ์ได้_บทที่130
- ภพภูมิ_ ฃความดับของอายตนะคือความดับของทุกข์_บทที่129
- ธรรมะวันพระ (5/12/2023)
- ภพภูมิ_ความดับของขันธ์5 คือความดับของทุกข์_บทที่128
- ภพภูมิ_ความหมายของคำว่าความดับ_บทที่127
- ภพภูมิ_การปรินิพพานในปัจจุบัน_บทที่126
- ภพภูมิ_นิพพานเป็นที่สิ้นไปแห่งอาสวะ_บทที่125
- ภพภูมิ_นิพพานที่เห็นได้เอง_บทที่124
- ภพภูมิ_ความสิ้นตัณหาคือนิพพาน_บทที่123
- ภพภูมิ_ นิพพานคือธรรมที่สิ้นไปแห่งอาสวะ_บทที่122
- ภพภูมิ_ความรู้สึกของปุถุชน_บทที่121
- ภพภูมิ_อุปมาแห่งนิพพาน_บทที่120
- ธรรมะวันพระ (20/11/2023)
- ภพภูม_ เพราะไม่รู้อริยสัจจึงท่องเที่ยวไปในสังสารวัฏ_บทที่ 119
- ภพภูมิ_ สิ่งทั้งหลายไม่เที่ยง_บทที่118-2
- ภพภูมิ_ สิ่งทั้งหลายไม่เที่ยง_บทที่118-1
- ภพภูมิ_สิ่งทั้งหลายไม่เที่ยง(นัยที่1)_บทที่117
- ภพภูมิ_ความไม่แน่นอนของการได้อัตภาพ_บทที่116
- ภพภูมิ_เลือดที่เคยสูญเสีย_บทที่115
- ภพภูมิ_สุขที่เคยได้รับ_บทที่114
- ภพภูมิ_ ทุกข์ที่เคยได้รับ_บทที่113
- ภพภูมิ_น้ำนมที่เคยได้ดื่ม_บทที่112
- ภพภูมิ_ น้ำตาที่เคยหลั่งไหล_บทที่111
- ธรรมะวันพระ(6/11/2023)
- ภพภูมิ_ ผู้ที่ไม่เคยเกี่ยวข้องกัน หาได้ยาก_บทที่110
- ภพภูมิ_ การเวียนเกิดที่แสนยาวนาน_บทที่ 109
- ภพภูมิ_ การท่องเที่ยวที่แสนยาวนาน_บทที่108
- ภพภูมิ_ ความยาวนานแห่งสังสารวัฏ(นัยที่2)_บทที่ 107
- ภพภูมิ_ ความยาวนานแห่งสังสารวัฏ(นัยที่1)_บทที่ 106
- ภพภูมิ_ความดันแห่งกัป(นัยที่2)_บทที่105
- ภพภูมิ_ความดันแห่งกัป(นัยที่1)_บทที่104
- ภพภูมิ_ความเป็นไปได้ยาก_บทที่103
- ภพภูมิ_สุคติของเทวดา_บทที่102
- ธรรมะวันพระ(22/10/2023)
- ภพภูมิ_ เหตุที่มีความเห็นว่า อัตตาและโลก บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง_บทที่101-3
- ภพภูมิ_ เหตุที่มีความเห็นว่า อัตตาและโลก บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง_บทที่101-2
- ภพภูมิ_ เหตุที่มีความเห็นว่า อัตตาและโลก บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง_บทที่101
- ภพภูมิ_ความเห็นผิดของพกพรหม_บทที่100
- ภพภูมิ_แม้แต่เทวดาก็ไม่เที่ยง_บทที่99
- ภพภูมิ_การเข้าถึงสวรรค์ในภพปัจจุบัน_บทที่98
- ภพภูมิ_ อานิสงส์แห่งการฟังธรรมเนืองๆ_บทที่97-4
- ธรรมะวันพระ (14/10/2023)
- ภพภูมิ_อานิสงส์แห่งการฟังธรรมเนืองๆ_บทที่ 97-3
- ภพภูมิ_อานิสงส์แห่งการฟังธรรมเนืองๆ_บทที่97-2
- ภพภูมิ_อานิสงส์แห่งการฟังธรรมเนืองๆ_บทที่97-1
- ภพภูมิ_ตำแหน่งที่สตรีเป็นไม่ได้_บทที่96
- ภพภูมิ_เทวดาเคยรบกับอสูร_บทที่95
- ภพภูมิ_ชุมนุมเทวดา_บทที่94-2
- ภพภูมิ_ชุมนุมเทวดา_บทที่94-1
- ภพภูมิ_เทวดาชั้นสุทธาวาส_บทที่ 93
- ธรรมวันพระ(29/09/2023)
- ภพภูมิ_ ผลของการเจริญอรูปสัญญา แล้วเห็นความไม่เที่ยง_บทที่92
- ภพภูมิ_ ความแตกต่างระหว่างปุถุชน กับอริยสาวก ผู้ได้อรูปสัญญา_บทที่91
- ภพภูมิ_ ผลของการเจริญพรหมวิหาร แล้วเห็นความไม่เที่ยงบทที่90
- ภพภูมิ_ ความแตกต่างระหว่างปุถุชน กับอริยสาวก ผู้เจริญพรหมวิหาร_บทที่89
- ภพภูมิ_ ผลของการเจริญรูปสัญญา แล้วเห็นความไม่เที่ยง_บทที่88
- ภพภูมิ_ความแตกต่างระหว่างปุถุชนกับอริยะสาวกผู้ได้รูปสัญญา_บทที่87
- ภพภูมิ_ทางเพื่อความเป็นสหายแห่งพรหม_บทที่86
- ภพภูมิ_ การบูชาที่จัดเป็นการบูชาอย่างสูงสุด_บทที่85
- ภพภูมิ_การบูชาเทวดา_บทที่84
- ภพภูมิ_เหตุให้ได้ความเป็นจอมเทพ_บทที่83
- ภพภูมิ_ เทวดาเข้าถือเอาพื้นที่_บทที่82
- ภพภูมิ_ เทวดาเหล่ามนาปกายิกา_บทที่81
- ธรรมะวันพระ(08/09/2023)
- ภพภูมอ_ เหตุให้เข้าถึงความเป็นสหายของ เทวดาซึ่งนับเนื่องในหมู่วลาหก_บทที่80
- ภพภูมิ_ เทวดาซึ่งดับหนึ่งในหมู่คนธรรพ์_บทที่79
- ภพภูมิ_ เหตุให้เข้าถึงความเป้นสหายของ เทวดาซึ่งนับเนื่องในหมู่คนธรรพ์_ (นัยที่๒)_บทที่78 (นัยที่๑)_บทที่77
- ภพภูมิ_ เหตุให้เข้าถึงความเป้นสหายของ เทวดาซึ่งนับเนื่องในหมู่คนธรรพ์ (นัยที่๑)_บทที่77
- ภพภูมิ_ เทวดาซึ่งนับเนื่องในหมู่คนธรรพ์_บทที่76
- ภพภูมิ_อานิสงส์ของการรักษาอุโบสถ_บทที่75-5
- ภพภูมิ_อานิสงส์ของการรักษาอุโบสถ_บทที่75-4
- ภพภูมิ_อานิสงส์ของการรักษาอุโบสถ_บทที่75-3
- ภพภูมิ_อานิสงส์ของการรักษาอุโบสถ_บทที่75-2
- ภพภูมิ_อานิสงส์ของการรักษาอุโบสถ_บทที่75-1
- ธรรมะวันพระ (24/08/2023)
- ภพภูมิ_ อุปมาความสุขบนสวรรค์บทที่74-3
- ภพภูมิ_ อุปมาความสุขบนสวรรค์_บทที่74-2
- ภพภูมิ_ อุปมาความสุขบนสวรรค์_บทที่74-1
- ภพภูมิ_ ความแตกต่างของผู้ให้กับผู้ไม่ให้_บทที่73
- ภพภูมิ_สัดส่วนของทาน ศึล ภาวนา_บทที่72-2
- ภพภูมิ_สัดส่วนของทาน ศึล ภาวนา_บทที่72-1
- ธรรมะวันพระ (16/08/2023)
- ยอดแห่งความเพียร
- พ่อค้าผู้ประกอบด้วยองค์ ๓ ประการ ย่อมถึงความมีโภคทรัพย์มากมายเหลือเฟือ
- ภพภูมิ_ เหตุเกิดขึ้นแห่งทาน8 ประการ_บทที่71
- ภพภูมิ_ เหตุสำเร็จความปรารถนา_บทที่70-2
- ธรรมะวันพระ (9/08/2023)
- ภพภูมิ_ เหตุสำเร็จความปรารถนา_บทที่70-1
- ภพภูมอ_ ผลของการต้อนรับบรรพชิตด้วยวิธีต่างกัน_บทที่69
- ภพภูมิ_ ผลจากการวางจิตเมื่อให้ทาน_บทที่68
- ภพภูมิ_ ผลแห่งความประพฤติเรียบร้อย_บทที่ 67
- ภพภูมิ_ ข้อดีของเทวดาเทียบกับมนุษย์_บทที่66
- ภพภูมิ_ ความเป็นไปได้ยาก_บทที่65
- ภพภูมิ_ โอกาสในการเกิดเป็นมนุษย์นั้นยาก_บทที่64
- ภพภูมิ_ เหตุที่สัตว์บางพวกกลัวตายบางพวกไม่กลัวตาย_บทที่63-2
- ภพภูมิ_ เหตุที่สัตว์บางพวกกลัวตายบางพวกไม่กลัวตาย_บทที่63-1
- ภพภูมิ_ เครื่องผูกพันสัตว์_บทที่62
- ภพภูมิ_ เหตุที่ทำให้มนุษย์จำนวนลดลง_บมที่61
- ภพภูมิ_ ผลจากความไม่มีธรรมะของมนุษย์_บทที่60
- ภพภูมิ_ ปัจจัยต่ออายุขัยของมนุษย์_บทที่59
- ภพภูมิ_ การเกิดสังคมมนุษย์_บทที่58-5
- ภพภูมิ_ การเกิดสังคมมนุษย์_บทที่58-4
- ภพภูมิ_ การเกิดสังคมมนุษย์_บทที่58-3
- ภพภูมิ_ การเกิดสังคมมนุษย์_บทที่58-2
- ภพภูมิ_ การเกิดสังคมมนุษย์_บทที่58–1
- ภพภูมิ_ เหตุสำเร็จความปราถนา_บทที่57
- ธรรมะวันพระ (17/07/2023)
- ภพภูมิ_ กรรมกำหนด_บทที่56
- ภพภูมิ_ ธรรมของพระเจ้าจักรพรรดิ_บทที่55
- ภพภูมิ_ เหตุให้มนุษย์เกิดมาแตกต่างกัน_บทที่54/3
- ภพภูมิ_ เหตุให้มนุษย์เกิดมาแตกต่างกัน_บทที่54/2
- ภพภูมิ_ เหตุให้มนุษย์เกิดมาแตกต่างกัน_บทที่54/1
- ภพภูมิ_ เหตุให้ได้ความเป็นหญิงหรือชาย_บทที่53
- ภพภูม_ เหตุแห่งการดำรงอยู่ของชีวิต_บทที่ 52
- ภพภูมิ_ สัตว์ตั้งอยู่ในครรภ์ได้อย่างไร_บทที่51
- ภพภูมิ_ เหตุแห่งการเกิดในครรภ์_บทที่50
- ภพภูมิ_ ข้อดีของมนุษย์เทียบกับเทวดาชั้นดาวดึงส์_บทที่ 49
- ภพภูมิ_ สุคติของผู้มีศีล_บทที่48
- ภพภูมิ_ อานิสงส์แห่งศีลสมบัติของคนมีศีล บทที่ 47
- ธรรมะวันพระ (02/07/2023)
- ภพภูมิ_ เหตุให้สุคติปรากฏ_บทที่46
- ภพภูมิ_ ความเป็นไปได้ยาก_บทที่45
- ภพภูมิ_ เปรตวิสัย_บทที่44_2/2
- ภพภูมิ_ เปรตวิสัย_บทที่44_1/2
- ภพภูมิ_ ความเป็นไปได้ยาก_บทที่42
- ธรรมะวันพระ (25/06/2023)
- ภพภูมิ_ การจองจำที่ทารุณเจ็บปวด_บทที่41
- ภพภูมิ_ สัตว์ที่อยู่ในอบายมีมาก_บทที่40
- ภพภูมิ_ปฏิปทาให้ถึงความเป็นสุนัขและโค_บทที่39
- ภพภูมิ_เหตุให้เข้าถึงความเป็นสหายของพวกครุฑ (นัยที่2)_บทที่38
- ภพภูมิ_ เหตุให้เข้าถึงความเป็นสหายพวกครุฑ(นัยที1)_บทที่37
- ภพภูมิ_ กำเนิดครุฑ 4จำพวก_บทที่36
- ภพภูมิ_ เหตุให้เข้าถึงความเป็นสหายของนาค (นัยที่2)_บทที่35
- ภพภูมิ_ เหตุให้เข้าถึงความเป็นสหายของนาค (นัยที่1)_บทที่34
- ภพภูมิ_ เหตุให้นาครักษาสาอุโบสถ_บทที่33
- ภพภูมิ_ กำเหนิดนาค 4จำพวก_บทที่32
- ภพภูมิ_ นาคเป็นสัตว์เดียรัจฉาน_บทที่31
- ภพภูมิ_เหตุที่ทำให้เกิดเป็นเดรัจฉาน_บทที่30
- ภพภูมิ_ การไม่รู้อริยสัจ มืดยิ่งกว่าโลกันตริก_บทที่29
- ธรรมะวันพระ (11/06/2023)
- ภพภูมิ_ ความเป็นไปได้ยาก_บทที่28
- ภพภูมิ_การจองจำที่ทารุณเจ็บปวด_บทที่27
- ภพภูมิ_การเข้าถึงนรกในภพปัจจุบัน (นัยที่ ๑)_บทที่ 25
- ภพภูมิ_อายุนรก_บทที่24
- ภพภูมิ_ความทุกข์ในนรก_บทที่23_5
- ภพภูมิ_ความทุกข์ในนรก_บทที่23_4
- ภพภูมิ_ความทุกข์ในนรก_บทที่23_3
- ธรรมะวันพระ (03/06/2023)
- ภพภูมิ_ความทุกข์ในนรก_บทที่23_2
- ภพภูมิ_ความทุกข์ในนรก_บทที่23_1
- บทสวด ปฏิจจสมุปบาท
- มหาปุริสวิตก
- ผู้ที่กายก็ออก จิตก็ออก และผู้ที่กายก็ไม่ออก จิตก็ไม่ออก
- ธรรมะวันพระ (27/05/2566)
- ผู้ประเสริฐใน ๓ โลก
- เมื่อเจริญอานาปานสติ วิตกอันเป็นฝ่ายแห่งความคับแค้นย่อมไม่มี
- เจริญอานาปานสติ เพื่อละความฟุ้งซ่าน
- ผู้มากด้วยความสุขกายสุขใจ
- นาคเป็นสัตว์เดรัจฉาน
- อนัตตลักขสูตร
- สัญญา ๑๐ ประการ
- ธรรมะวันพระ (19/05/2023)
- กิจที่เร่งด่วนของชาวนา กับกิจที่เร่งด่วนของภิกษุ
- เมื่อประกอบเนืองๆ ในการเจริญภาวนาอยู่ ก็สามารถหลุดพ้นได้เอง
- ผู้อยู่ใกล้นิพพาน
- กิจเบื้องต้นของชาวนา กิจเบื้องต้นของภิกษุ
- ธรรมวันพระ (12/05/2023)
- อานิสงส์ที่มุ่งหวัง จากการเจริญทุกขสัญญา
- ความเกิดขึ้น ความดับไปของทุกข์ (๒)
- ความเกิดขึ้นความดับไปของทุกข์ (๑)
- การเจริญมรณสติ ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก
- สิ่งใดไม่ใช่ของเรา เราจงละสิ่งนั้น (๑)
- ให้ขยันทำกิจของตนเอง
- ธรรมย่อมไหลไปสู่ธรรม
- ธรรมะวันพระ (04/05/2023
- ลักษณะของผู้ที่อยู่ด้วยธรรม (๑)
- เมื่อขันธ์ ๕ มีอยู่ มารจึงมี
- เหตุของการบัญญัติว่ามาร
- บริษัทที่สามัคคีกัน เป็นบริษัทที่เลิศ
- เหตุสำเร็จตามความปรารถนา (๒)
- ธรรมะวันพระ (27/04/2023)
- หากทานอาหารวันละครั้ง โรคภัยไข้เจ็บจะน้อย แต่แข็งแรง
- ธรรม ๔ ประการ ที่ทำให้เป็นคนพาล หรือเป็นบัณฑิต (๓)
- ผู้ควรบรรลุ หรือไม่ควรบรรลุกุศลธรรม
- ธรรม ๔ ประการ ที่ทำให้เป็นคนพาล หรือเป็นบัณฑิต (๒)
- โลกธรรม ๘ ประการเหล่านี้ ย่อมหมุนไปตามโลก (๑)
- สิ่งที่พระองค์ตรัสรู้ แต่ไม่ได้นำมาบอกสอนนั้นมีมาก เพราะไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน
- พระยายม ปรารถนาจะได้เกิดเป็นมนุษย์
- ธรรมะวันพระ (20/04/2023)
- คนพาลที่ไปสู่วินิบาตแล้ว จะได้เกิดเป็นมนุษย์นั้น เป็นการยาก
- ห้วงบุญ ห้วงกุศล ๔ ประการ ที่ไม่อาจนับได้ ไม่อาจประมาณได้ (๓)
- ลักษณะของผู้ถูกนำมาเก็บไว้ในนรก หรือถูกมาเก็บไว้ในสวรรค์ (๓)
- ลักษณะของผู้ถูกนำมาเก็บไว้ในนรก หรือถูกนำมาเก็บไว้ในสวรรค์ (๒)
- ลักษณะของผู้ถูกนำมาเก็บไว้ในนรก หรือถูกนำมาเก็บไว้ในสวรรค์ (๑)
- ธรรมะวันพระ (13/04/2023)
- ท้าวสักกะไหว้ใคร
- มนุษย์มีบางอย่างดีกว่าเทวดา
- ลักษณะของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน แต่ไม่เพื่อประโยชน์ผู้อื่น
- ลักษณะของผู้ที่พอตัวเพื่อช่วยตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อช่วยผู้อื่น
- ธรรมที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ หาได้ยาก ๑๐ ประการ
- ธรรมที่ควรสอนภิกษุใหม่
- อนุเคราะห์ผู้อื่น ด้วยการให้ตั้งมั่นในสติปัฏฐานสี่
- เจริญสติปัฏฐาน ๔ เพื่อละเหตุที่ให้สิกขาถอยกำลัง
- ภิกษุใหม่, ภิกษุผู้เสขะ, ภิกษุผู้อรหันต์ ล้วนเจริญสติปัฏฐาน ๔
- ที่ๆ ควรเที่ยว
- หลักควรปฏิบัติเมื่อจะแสดงธรรมแก่ผู้อื่น
- เหตุปัจจัยที่ทำให้พระสัทธรรมตั้งอยู่นานภายหลังพุทธปรินิพพาน
- การเจริญสติปัฏฐาน เป็นการรักษาทั้งตนเองและผู้อื่น
- เจริญสติปัฏฐาน ๔ เพื่อละอุทธัมภาคิยสังโยชน์
- เจริญสติปัฏฐาน ๔ เพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์
- เจริญสติปัฏฐาน ๔ เพื่อละเหตุที่ให้สิกขาถอยกำลัง
- เห็นอายตนะภายนอก ๖ ว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา และเห็นว่าไม่ใช่ของเรา สามารถหลุดพ้นได้
- เห็นขันธ์ทั้ง ๕ ว่าเป็นทุกข์ สามารถหลุดพ้นได้
- เห็นขันธ์ทั้ง ๕ ว่าเป็นอนัตตา สามารถหลุดพ้นได้ (๑)
- เห็นอายตนะภายนอกทั้ง ๖ ว่าเป็นทุกข์ สามารถหลุดพ้นได้ (๒)
- เห็นอายตนะภายนอกทั้ง ๖ ว่าเป็นทุกข์ สามารถหลุดพ้นได้ (๑)
- เมื่อหลีกเร้นแล้ว ย่อมรู้ได้ตามความเป็นจริง (๓)
- ธรรมะวันพระ(21/3/2566)
- เหตุให้จิตหลุดพ้นด้วยดี(๓
- เหตุให้จิตหลุดพ้นด้วยดี(๒)
- เหตุให้จิตหลุดพ้นด้วยดี (๑)
- ปฏิปทาที่สัปปายะแก่การบรรลุนิพพาน (๓)
- ปฏิปทาที่สัปปายะแก่การบรรลุนิพพาน (๒)
- ปฏิปทาที่สัปปายะแก่การบรรลุนิพพาน (๑)
- เมื่อหลีกเร้นแล้ว ย่อมรู้ได้ตามความเป็นจริง (๒)
- ธรรม10 ประการเพื่อความสามัคคี2/2
- ธรรม10 ประการเพื่อความสามัคคี1/2
- เหตุที่ทำให้แตกแยกจากมิตรสหายและทำให้ถูกใส่ร้าย
- เหตุของความแตกแยกและเหตุของความสามัคคี
- โทษของการฆ่าสัตว์ 3/3
- โทษของการฆ่าสัตว์ 2/3
- โทษของการฆ่าสัตว์ 1/3
- ธรรม ๖ ประการ เพื่อความเจริญไม่เสื่อม
- เหตุให้ระลึกถึง รัก เคารพ ไม่วิวาท และพร้อมเพรียงกัน [สาราณียธรรม (๒)]
- เหตุให้ระลึกถึงกัน [สาราณียธรรม (๑)]
- เทวดาทูลถามข้อสงสัยในเรื่องทาน
- ผลของการให้ทานแบบต่างๆ
- บริษัทที่สามัคคีกัน เป็นบริษัทที่เลิศ
- โทษของความเกียจคร้าน
- ผู้ให้โภชนะชื่อว่าให้ฐานะ 5 ประการ
- ผู้ให้โภชนชื่อว่าให้ฐานะ 4ประการ
- ข้าวยาคูมีประโยชน์10อย่าง
- เหตุสำเร็จความปรารถนา (๓)5/5
- เหตุสำเร็จความปรารถนา (๓)4/5
- เหตุสำเร็จความปรารถนา (๓)3/5
- เหตุสำเร็จความปรารถนา (๓)2/5
- เหตุสำเร็จความปรารถนา (๓)1/5
- เหตุสำเร็จความปรารถนา (๒)-2/2
- ธรรมะวันพระ (19/02/2566)
- เหตุสำเร็จความปรารถนา (๒)1/2
- ถ้าสัตว์ทั้งหลายรู้ผลแห่งการแจกจ่ายทาน
- ผลของการทำผิดศีล และทำอกุศลกรรมบถบางข้อ
- ธรรมปริยายที่เป็นไปในส่วนแห่งการเจาะแทงกิเลส (เรื่องกรรม)
- กรรมเก่า กรรมใหม่ และข้อปฏิบัติให้ถึงความดับกรรม
- สัทธานุสารี ธัมมานุสารี โสดาบัน (๑)
- ธรรมะวันพระ (13/02/2566)
- ความต่างกันระหว่าง พระโสดาบันกับพระอรหันต์ (๒)
- ความต่างกันระหว่าง พระโสดาบันกับพระอรหันต์ (๑)
- กายคตาสติ (๗)
- กายคตาสติ (๓)
- ประโยชน์ที่ได้จากโภคทรัพย์
- โสดาบันเป็นอย่างไร
- ธรรมที่เป็นไปเพื่อความเจริญแห่งปัญญา
- ธรรมที่มีอุปการะมากแก่มนุษย์
- ลักษณะการพูดของตถาคต
- วางจิต เมื่อถูกตำหนิ หรือ ถูกชม
- ผู้ไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก
- วิธีระงับความอาฆาต
- บุคคลเปรียบด้วยรอยขีด ๓ ประเภท
- ผู้รักตนเอง ไม่ควรเบียดเบียนผู้อื่น
- ผู้ชนะสงคราม ที่ชนะได้โดยยาก
- อายุสังขาร สิ้นไปเร็ว
- สัตว์จะต้องพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจทั้งสิ้น (๒)
- ประโยชน์ของปฏิกูลสัญญา (ความสำคัญว่าปฏิกูล)
- ผู้ใดไม่มีสิ่งเป็นที่รัก ผู้นั้นก็ไม่มีทุกข์
- ลักษณะคำพูดของบุคคล ๓ จำพวก
- สัตว์จะต้องพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจทั้งสิ้น (๑)
- ธรรมะวันพระ(14/01/2023)
- พระยายม ปรารถนาจะได้เกิดเป็นมนุษย์
- พระพุทธเจ้า แสดงธรรมะแก่ท่านพาหิยะ ก่อนทำกาละ
- ผู้เจริญอยู่ด้วยความอันเป็นอริยะ (๒)
- อาศัยเจ้าบ้านผู้มีศรัทธา ย่อมเจริญ (๑)
- คนพาลที่ไปสู่วินิบาตแล้ว จะได้เกิดเป็นมนุษย์นั้น เป็นการยาก
- คนพาลที่ไปสู่วินิบาตแล้ว จะได้เกิดเป็นมนุษย์นั้น เป็นการยาก
- เหตุให้ระลึกถึง รัก เคารพ ไม่วิวาท และพร้อมเพรียงกัน
- เหตุที่ทำให้ได้ความเป็นอริยบุคคลแตกต่างกัน (๑)
- สร้างเหตุเพื่อไม่กลัวต่อความตาย
- ธรรมะโดยย่อ เพื่อการหลุดพ้น (ตรัสกับท่านพระอานนท์)
- สิ่งที่บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ
- ฤกษ์ดี มงคลดี ยามดี ตามคำสอนของพระศาสดา
- มนุษย์มีบางอย่างดีกว่าเทวดา
- ธรรมะวันพระ(6/01/2023)
- โอกาสที่พระสัมมาสัมพุทธะ จะบังเกิดขึ้น หรือโอกาสที่จะได้เกิดเป็นมนุษย์นั้น เป็นการยาก
- ที่เดิน-ยืน-นั่ง-นอนอันเป็นทิพย์
- ทำความเพียร แข่งกับภัยในอนาคต
- ธรรมะเนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่
- ธรรมะวันพระ (08/12/2022)
- ธรรมะวันพระ (01/12/2022)
- ธรรมะวันพระ (23/11/2022)
- ธรรมะวันพระ (16/11/2022)
- ธรรมะวันพระ (08/11/2022)
- ธรรมะวันพระ (01/11/2022)
- ธรรมะวันพระ (24/10/2022)
- ธรรมะวันพระ (18/10/2022)
- ธรรมะวันพระ (10/10/2022)
- ธรรมะวันพระ (03/10/2022)
- ธรรมะวันพระ (25/09/2022)
- ธรรมะวันพระ (18/09/2022)
- ธรรมะวันพระ (10/09/2022)
- ธรรมะวันพระ (03/09/2022)
- ธรรมะวันพระ (26/08/2022)
- ธรรมะวันพระ (20/08/2022)
- ธรรมะวันพระ (12/08/2022)
- ธรรมะวันพระ (05/08/2022)
- ธรรมะวันพระ (28/07/2022)
- ธรรมะวันพระ (21/07/2022)
- ธรรมะวันพระ (13/07/2022)
- ธรรมะวันพระ (06/07/2022)
- ธรรมะวันพระ (28/06/2022)
- ธรรมะวันพระ (22/06/2022)
- ธรรมะวันพระ (14/06/2022)
- ธรรมะวันพระ (07/06/2022)
- ธรรมะวันพระ (30/05/2022)
- ธรรมะวันพระ (23/05/2022)
- ธรรมะวันพระ (15/05/2022)
- ธรรมะวันพระ (08/05/2022)
- ธรรมะวันพระ (30/04/2022)
- ธรรมะวันพระ (24/04/2022)
- ธรรมะวันพระ (16/04/2022)
- ธรรมะวันพระ (09/04/2022)
- ธรรมะวันพระ (01/04/2022)
- ธรรมะวันนี้วันพระ(17/03/2022)
- ธรรมะวันพระ(10/03/2022)
- ธรรมะวันพระ (02/03/2022)
- ธรรมะวันพระ (24/02/2022)
- ธรรมะวันพระ (16/02/2022)
- ธรรมะวันพระ (09/02/2022)
- ธรรมะวันพระ (01/02/2022
- ธรรมะวันพระ (25/01/2022)
- ธรรมะวันพระ (17/01/2022)
- ธรรมะวันพระ (10/01/2022)
- ธรรมะวันพระ (02/01/2022)
- ธรรมะวันพระ (27/12/2021)
- วันพระ (19/12/2021) วิสาขา
- ธรรมะวันพระ (12/12/2021)
- ธรรมะวันพระ (4/12/2021)
- ธรรมะวันพระ (27/11/2021)
- ธรรมะวันพระ (19/11/2021)
- ธรรมะวันพระ (12/11/2021)
- ธรรมะวันพระ (4/11/2021)
- ธรรมะวันพระ (29/10/2021)
- ธรรมะวันพระ (21/10/2021)
- ธรรมะวันพระ (14/10/2021)
- ธรรมะวันพระ (6/10/2021)
- ธรรมะวันพระ (29/09/2021)
- ธรรมะวันพระ (21/09/2021)
- ธรรมะวันพระ (14/09/2021)
- ธรรมะวันพระ (06/09/2021)
- วิธีระงับความอาฆาต
- อายุสังขาร สิ้นไปเร็ว
- ต้นเหตุแห่งการทะเลาะวิวาท
- ผู้เจริญอยู่ด้วยธรรมเป็นเหตุแห่งความเจริญ
- ธรรม ๔ ประการที่ไม่มีใครรับรองได้
- ธรรม ๔ ประการ ทำให้เป็นคนพาล หรือบัณฑิต (๒)
- โอวาทปาติโมกข์
- ผู้ไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน และไม่เพื่อประโยชน์ผู้อื่น
- ผู้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน และเพื่อประโยชน์ผู้อื่น
- พุทธวจน_ผู้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่น แต่ไม่เพื่อประโยชน์ตน
- พุทธวจน_ผู้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน แต่ไม่เพื่อประโยชน์ผู้อื่น
- พุทธวจน_มายาเครื่องกลับใจ2/2
- พุทธวจน_มายาเครื่องกลับใจ1/2
- พุทธวจน_โอวาทปาติโมกข์
- พุทธวจน_ผู้รักตนเอง ไม่ควรเบียดเบียนผู้อื่น
- พุทธจวน_ธรรมที่มีอุปการะมากแก่มนุษย์
- พุทธวจน_ธรรมที่เป็นไปเพื่อความเจริญแห่งปัญญา
- พุทธวจน_ความสุขของคฤหัสถ์
- พุทธวจน_บุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตนและเพื่อประโยชน์ผู้อื่น
- พุทธวจน_โทษของความไม่อดทนและอานิสงส์ของความอดทน
- พุทธวจน_สติเครื่องรักษาจิต
- พุทธวจน_ ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุขในปัจจุบันและสัมปรายะ
- พุทธวจน_อาศัยเจ้าบ้านผู้มีศรัทธาย่อมเจริญ(1)
- พุทธวจน_ธรรมที่ทำให้เจริญ
- พุทธวจน_ความสำเร็จไม่ได้เกิดจากการขอ
- พุทธวจน_ชนเหล่าไหนชื่อว่ารักตนชนเหล่าไหนชื่อว่าไม่รักตน
- พุทธวจน_ธรรม 5 ประการทำให้อายุยืน(2)
- พุทธวจน_ดูคนต้องใช้เวลา(2)
- พุทธวจน_อนุเคราะห์ผู้อื่น ด้วยการให้ตั้งมั่นในฐานะสาม
- พุทธวจน_ธรรม 5 ประการทำให้อายุยืน
- พุทธวจน_ดูคนต้องใช้เวลา
- บทสัชฌายะ_ปฏิจจสมุปปาโท
- บทสัชฌายะ_อิทัปปัจจยตา
- ตถาคต_ทรงทำลายความขลาดก่อนตรัสรู้_บทที่46
- ตถาคต_ความฝันครั้งสำคัญก่อนการตรัสรู้_บทที่45
- ตถาคต_ปัญจวัคคีย์หลีกไป_บทที่44
- ตถาคต_ทรงกลับพระทัยฉันอาหารหยาบ_บทที่43
- ตถาคต_ทรงแน่พระทัยว่าไม่อาจตรัสรู้เพราะการทำทุกรกิริยา_บทที่42
- ตถาคต_ทรงประพฤติ อัตตกิลมถานุโยค_บทที่41
- ตถาคต_บำเพ็ญทุกรกิริยา_บทที่40
- ตถาคต_อุปมาปรากฏแจ่มแจ้ง_บทที่39
- ตถาคต_ทรงพบสถานที่ประกอบความเพียร_บทที่38
- ตถาคต_เสด็จสำนักอุทกดาบส_บทที่37
- ตถาคต_เสด็จสำนักอาฬารดาบส_บทที่36
- ตถาคต_การออกบรรพชา_บททร่35
- ตถาคต_ความรู้สึกที่ถึงกับทำให้ออกผนวช_บทที่34
- ตถาคต_ ทรงหลงกามและหลุดจากกาม_บทที่33
- ตถาคต_กามสุขกับความหน่าย_บทที่32
- ตถาตจ_ทรงได้รับการบำเรอ_บทที่31
- ตถาคต_ประสูติได้7 วันพระชนนานีทิวงคต_บทที่30
- ตถาคต_ประกอบด้วยมหาปุริสลักษณะ 32_บทที่29
- ตถาคต_แผ่นดินไหวเนื่องด้วยการประสูติ_บทที่28
- ตถาคต_เกิดแสงสว่างเนื่องด้วยการประสูติ_บทที่27
- ตถาคต_การประสูติ_บทที่26
- ตถาคต_การอยู่ในครรภ์_บทที่25
- ตถาคต_การลงสู่ครรภ์_บทที่24
- ตถาคต_แผ่นดินไหวเนื่องด้วยการจุติ_บทที่23
- ตถาคต_เกิดแสงสว่างเนื่องด้วยการจุติจากดุสิต_บทที่22
- ตถาคต_การจุติจากดุสิตสู่ครรภ์_บทที่21
- ตถาคต_การอยู่ในหมู่เทพชั้นดุสิต_บทที่20
- ตถาคต_การเกิดแห่งวงศ์สากยะ_บทที่19
- ตถาคต_ไวพจน์แห่งคำว่า”ตถาคต”_บทที่18
- ตถาคต_เหตุที่ทำให้ได้พระนามว่าอนุตรปุริสทัมมสารถิ_บทที่17
- ตถาคต_ทรงพระนามว่าตถาคตเพราะทรงเป็นกาลวาที ภูตวาที_บทที่16
- ตถาคต_เหตุที่ทำให้ได้ทรงพระนามว่าตถาคต_บทที่15
- ตถาคต_ทรงขนานนามพระองค์เองว่าตถาคต_บทที่14
- ตถาคต_เหตุที่ทำให้ได้พระนามว่าอรหันตสัมมาสัมพุทธะ(นัยที่2)_บทที่13
- ตถาคต_ เหตุที่ทำให้ได้พระนามว่าอรหันตสัมมาสัมพุทธะ_บทที่12
- ตถาตต_ ทรงขนานนามพระองค์เองว่าพุทธะ_บทที่11
- ตถาตต_ การบังเกิดขึ้นของตถาคตไม่ได้กระทบต่อกฎของธรรมชาติ_บททึ่10
- ตถาคต_ ผู้เชื่อฟังพระตถาคตจะได้รับประโยชน์สุขสิ้นการลนาน_บทที่9
- ตถาคต_ พระตถาคตเกิดขึ้นเพื่อความสุขของโลก_บทที่8
- ตถาคต_ การมีธรรมของพระตถาคตอยู่ในโลกคือความสุขของโลก_บทที่7
- ตถาคต_ ธรรมชาติ3 อย่างทำให้พระองค์เกิดขึ้นเป็นประทีปของโลก_บทที6
- ตถาคต_ การบังเกิดขึ้นของตถาคตคือความปรากฏขึ้นแห่งแสงสว่าง_บทที่5
- ตถาคต_โลกธาตุหนึ่งมีพระพุทธเจ้าเพียงองค์เดียว_บทที่4
- ตถาคต_การปรากฎของพระตถาคตมีได้ยากในโลก(นัยที่2)_บทที่3
- ตถาคต_การปรากฎของพระตถาคตมีได้ยากในโลก_บทที่2
- ตถาคต_เรื่องที่ควรทราบ_บทที่1
- ภพภูมิ_อุปมาความทุกข์ในนรก_บทที่22
- ภพภูมิ_อสัทธรรมที่ทำให้เกิดในนรกตลอดกัป_บทที่21
- ภพภูมิ_ปฏิปทาให้เข้าถึงนรกชื่อสรชิต_บทที่20
- ทุกภูมิ_ปฏิทาทาให้เข้าถึงนรกชื่อปหาสะ_บทที่19
- ภพภูมิ_เคราะห์ร้ายอันใหญ่หลวงของคนพาล_บทที่18
- ภพภูมิ_วิบากของผู้ทุศีล_บทที่17
- ภพภูมิ_ทุคติของผู้ทุศีล_บทที่16
- ภพภูมิ_โทษแห่งศีลวิบัติของคนทุศีล
- ภพภูมิ_เหตุให้ทุคติปรากฏ_บทที่14
- ภพภูมิ_คติ 5 และอุปมา_บทที่13
- ภพภูมิ_กายแบบต่างๆ_บทที่12
- ภพภูมิ_ลักษณะของการเกิด_บทที่11
- ภพภูมิ_เหตุให้มีการเกิด_บทที่10
- ภพภูมิ_ความหมายของคำว่า “สัตว์”_บทที่9
- ภพภูมิ_ความมีขึ้นแห่งภพแหมมีอยู่ชั่วขณะก็น่ารังเกียจ_บทที่8
- ภพภูมิ_ที่ตั้งอยู่ของวิญญาณ(นัยที่1)_บทที่7
- ภพภูมิ_ที่ตั้งของวิญญาณ(นัยที่1)_บทที่6
- ภพภูมิ_ความเกิดขึ้นแห่งภพใหม่_บทที่5
- ภพภูมิ_เครื่องนำไปสู่ภพ_บทที่4
- ภพภูมิ_ความมีขึ้นแห่งภพ(นัยที่2)_บทที่3
- ภพภูมิ_ความมีขึ้นแห่งภพ(นัยที่1)_บทที่2
- ภพภูมิ_ภพเป็นอย่างไร_บทที่1
- ภพภูมิ_คำนำ
- ภพภูมิ_คำอนุโมทนา
- ภพภูมิ_พระสูตรจากปกใน
- สาธยายธรรม_การสาธยายธรรมที่เป็นไปเพื่อความหลุดพ้น
- สาธยายธรรม_การเจริญเมตตา_2
- สาธยายธรรม_การเจริญเมตตา_1
- สาธยายธรรม_คำชี้ชวนวิ่งวอน
- สาธยายธรรม_บทสวดปัจฉิมวาจา
- สาธยายธรรม_บทสวดพึ่งตนพึ่งธรรม
- สาธยายธรรม_บทสวดธรรมวินัยคือศาสดา
- สาธยายธรรม_บทสวดก่อนนอน
- สาธยายธรรม_บทสวดอินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศ
- สาธยายธรรม_บทสวดที่สุดแห่งทุกข์
- สาธยายธรรม_บทสวดเพื่อผู้เจ็บไข้
- สาธยายธรรม_หมวดธัมมานุปัสสนา
- สาธยายธรรม_หมวดจิตตานุปัสสนา
- สาธยายธรรม_บทสวดอานาปานสติ(หมวด เวทนานุปัสสนา)
- สาธยายธรรม_บทสวดอานาปานสติ(หมวดกายานุปัสสนา)
- สาธยายธรรม_บทสวดข้อปฏิบัติอันไม่เสื่อมเสีย
- สาธยายธรรม_บทสวด ละนันทิ
- สาธยายธรรม_บทสวดอธิษฐานความเพียร
- สาธยายธรรม_บทสวดความสิ้นสุดแห่งโลก
- สาธยายธรรม_บทสวดอริยมรรคมีองค์แปด
- สาธยายธรรม_บทสวดปฏิจจสมุปบาท
- สาธยายธรรม_บทสวดแก้ความหวัดกลัว
- สาธยายธรรม_บทสวดระลึกถึงพระสงฆ์
- สาธยายธรรม_บทสวดระลึกถึงพระธรรม
- สาธยายธรรม_บทสวดระลึกถึงพระพุทธเจ้า
- สาธยายธรรม_บทนำ_ประโยชน์ของการสาธยายธรรม
- สาธยายธรรม_พระสูตรจากหน้าปก
- ปฐมธรรม_ลักษณะของภิกษุผู้มีศีล(นัยที่3)บทที่124
- ปฐมธรรม_ลักษณะของภิกษุผู้มีศีล(นัยที่2)_บทที่123
- ปฐมธรรม_ลักษณะของภิกษุผู้มีศีล(นัยที่1)_บทที่122
- ปฐมธรรม_ผู้ชี้ชวนวิ่งวอน_บทที่121
- ปฐมธรรม_ความรู้สึกภายในใจเมื่อละตันหาได้_บทที่120
- ปฐมธรรม_หมดความพอใจต่อสิ้นทุกข์_บทที่119
- ปฐมธรรม_หลักการพิจารณาอาหาร_บทที่118
- ปฐมธรรม_ทำความเข้าใจเกี่ยวกับอาหาร_บทที่117 (แสงกับฉาก)
- ปฐมธรรม_ลำดับการหลุดผลโดยละเอียดเมื่อเห็นอนัตตา_บทที่116
- ปฐมธรรม_อสังขตลักษณะ_บบที่115
- ปฐมธรรม_สังขตลักษณะ_บทที่114
- ปฐมธรรม_สิ่งๆหนึ่งซึ่งบุคคลพึงรู้แจ้ง_บทที่113
- ปฐมธรรม_ดินน้ำไฟลมไม่อาจหยั่งลงได้ในที่ไหน_บทที่112
- ปฐมธรรม_อริยมรรคมีองค์8_บทที่111
- ปฐมธรรม_ลำดับการปฎิบัติเพื่ออรหัตผล_บทที่110
- ปฐมธรรม_ฐานะที่เป็นไปไม่ได้ของผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ_บทที่109
- ปฐมธรรม_ ธัมมานุสารี_บทที่108
- ปฐมธรรม_สัทธานุสารี_บทที่107
- ปฐมธรรม_ความเป็นโสดาบันประเสริฐกว่าเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ_บทที่106
- ปฐมธรรม_ความเพลินเป็นเหตุให้เกิดทุกข์_บทที่105
- ปฐมธรรม_ความสิ้นตัณหาคือนิพพาน_บทที่104
- ปฐมธรรม_สิ้นนันทิ สิ้นราคะ_บทที่103
- ปฐมธรรม_สิ้นทุกข์เพราะสิ้นกรรม_บทที่102
- ปฐมธรรม_เหตุแห่งการเกิดทุกข์_บทที่101
- ปฐมธรรม_เพราะการเกิดเป็นเหตุให้พบกับความทุกข์_บทที่100
- ปฐมธรรม_ สังเวชนียสถานภายหลังพุทธปรินิพพาน_บทที่98
- ปฐมธรรม_พินัยกรรมของพระสังฆบิดา_บทที่97
- ปฐมธรรม_การบูชาตถาคตอย่างสูงสุด_บทที่96
- ปฐมธรรม_หลักตัดสินธรรมวินัย 4 ประการ_บทที่95
- ปฐมธรรม_ผู้มีธรรมเป็นที่พึ่ง_บทที่94
- ปฐมธรรม_เหตุการณ์ช่วงปรินิพพาน_บทที่93
- ปฐมธรรม_อริยมรรคมีองค์8 คือกัลยาณวัตรที่ตถาคตทรงฝากไว้_บทที่92
- ปฐมธรรม_เหตุผลที่ต้องรับฟังเฉพาะคำตรัสของพระผู้มีพระภาคเจ้า_บทที่91
- ปฐมธรรม_จงเป็นผู้มีสติคู่กันไปกับสัมปชัญญะ_บทที่90
- ปฐมธรรม_ผลของการกระทำที่ทำได้เหมาะสมกับเวลา_บทที่89
- ปฐมธรรม_การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป_บทที่88
- ปฐมธรรม_เจริญสมาธิให้ได้อย่างน้อยวันละ 3 ครั้ง_บทที่87
- ปฐมธรรม_ลักษณะของผู้ที่ง่ายต่อการเข้าสมาธิ_บทที่86
- ปฐมธรรม_อานิสงส์แห่งการปฏิบัติสมาธิแบบต่างๆ_บทที่85
- ปฐมธรรม_การดำรงสมาธิจิตเมื่อถูกเบียดเบีนนทางวาจา_บทที่84
- ปฐมธรรม_อานิสงส์ของการเจริญกายคตาสติ_บทที่83
- ปฐมธรรม_ให้ตั้งจิตในกายคตาสติเสมือนบุรุษผู้ถือหม้อน้ำ_บทที่82
- ปฐมธรรม_การตั้งจิตในกายคตาสติเป็นเสาหลักอย่างดีของจิต_บทที่80
- ปฐมธรรม_ลักษณะของผู้เจริญกายคตาสติ_บทที่79
- ปฐมธรรม_ผู้เจริญอานาปานสติย่อมชื่อว่าเจริญกายคตาสติ_บทที่78
- ปฐมธรรม_ลมหายใจก็คือ “กาย”_บทที่77
- ปฐมธรรม_เจริญอานาปานสติชื่อว่าไม่เหินห่างจากฌาน_บทที่76
- ปฐมธรรม_อานาปานสติระงับได้ซึ่งอกุศลทั้งหลาย_บทที่75
- ปฐมธรรม_อานิสงส์สูงสุดแห่งอานาปานสติ 2 ประการ
- ปฐมธรรม_ ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน_บทที่73
- ปฐมธรรม_ ความสำคัญของสมถะและวิปัสสนา_บทที่72
- ปฐมธรรม_สมาธิระงับความรัก-เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ_บทที่71
- ปฐมธรรม_แม้เพียงปฐมญานก็ชื่อว่าเป็นที่หลบภัยจากมาร_บทที่70
- ปฐมธรรม_อนุภาพของสมาธิ(นัยที่2)_บทที่69
- ปฐมธรรม_อนุภาพของสมาธิ(นัยที่1)_บทที่68
- ปฐมธรรม_ สมาธิภาวนา 4 ประเภท_บทที่67
- ปฐมธรรม_วิธีแก้ความฟุ้งซ่านบทที่ 66
- ปฐมธรรม_วิธีแก้ความหดหู่_บทที่65
- ปฐมธรรม_ทำความเพียรแข่งกับอนาคตตภัย_บทที่ 64
- ปฐมธรรม_การตามรู้ซึ่งความจริง_บทที่62
- ปฐมธรรม_วิธีการตามรักษาไว้ซึ่งความจริง_บทที่61
- ปฐมธรรม_ลักษณะของผู้เกรียจค้านตลอดเวลา_บทที่60
- ปฐมธรรม_ลักษณะของ”ผู้มีความเพียรตลอดเวลา_บทที่59
- ปฐมธรรม_ผู้เห็นแก่นอน_บทที่58
- ปฐมธรรม_ต้องถึงสายพิณพอเหมาะ_บทที่57
- ปฐมธรรม_ผู้ประสบบุญใหญ่_บทที่56
- ปฐมธรรม_ทานที่ให้แล้วในสงฆ์แบบใดจึงมีผลมาก_บทที่55
- ปฐมธรรม_กรรมที่ทำให้ได้รับผลเป็นความไม่ตกต่ำ_บทที่54
- ปฐมธรรม_ ธรรมดาของโลก_บทที่53
- ปฐมธรรม_ ทำดีได้ดี_บทที่52
- ปฐมธรรม_ ผลของการไม่มีศีล_บทที่51
- ปฐมธรรม_ ผลของการมีศีล_บทที่50
- ปฐมธรรม_ อานิสงส์สำหรับผู้ทำศีลให้บริบูรณ์_บทที่49
- ปฐมธรรม_ กุศลกรรมบถ 10_บทที่48
- ปฐมธรรม_อกุศลกรรมบถ 10_บทที่47
- ปฐมธรรม_ อุโบสถศีล_บทที่46
- ปฐมธรรม_ ทาน ที่จัดว่าเป็น มหาทาน_บทที่45
- ปฐมธรรม_ศีล 5_บทที่44
- ปฐมธรรม_ กายนี้เป็นกรรมเก่า_บทที่43
- ปฐมธรรม_สิ่งที่ควรรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรรม_บทที่42
- ปฐมธรรม_ งูเปื้อนคูถ_บทที่41
- ปฐมธรรม_ไม่โกหกกันแม้เพียงเพื่อหัวเราะเล่น_บทที่40
- ปฐมธรรม_ คุณสมบัติของทูต_บทที่39
- ปฐมธรรม_บทที่38_ ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล
- ปฐมธรรม_ ผลจากความไม่มีธรรมะของมนุษย์_บทที่37
- ปฐมธรรม_ ผลจากความไม่มีธรรมะของมนุษย์_บทที่36
- ปฐมธรรม_ สิ่งทั้งหลายไม่เที่ยง_บทที่35
- ปฐมธรรม_ เหตุให้ศาสนาเสื่อม_บทที่34
- ปฐมธรรม_ เหตุให้ศาสนาเจริญ_บทที่33
- ปฐมธรรม_ ธรรมอันเป็นไปเพื่อความเจริญไม่เสื่อม_บทที่32
- ปฐมธรรม_ ความพอใจใดความพอใจนั้นคือเหตุเกิดแห่งทุกข์_บทที่31
- ปฐมธรรม_ เหตุแห่งการเบียดเบียน_บทที่30
- ปฐมธรรม_ กฏธรรมชาติ_บทที่29
- ปฐมธรรม_ ความอยาก(ตันหา)คือต้นเหตุแห่งการทะเลาะวิวาท_บทที่28
- ปฐมธรรม_ เหตุของความสามัคคีและความแตกแยก_บทที่27
- ปฐมธรรม_ มืดมา... สว่างไปสว่างมา... ก็คงสว่างไป_บทที่26
- ปฐมธรรม_ การตั้งจิตก่อนนอน_บทที่25
- ปฐมธรรม_ จิตอธิษฐานการงาน_บทที่24
- ปฐมธรรม_ สิ่งที่พระศาสดาถือว่าเป็นความอัศจรรย์_บทที่23
- ปฐมธรรม_ ลักษณะของผู้มีสติและสัมปชัญญะ_บทที่22
- ปฐมธรรม_ ลาภสักการะและเสียงเยินยอเป็นอันตรายแม้แต่พระอรหันต์_บทที่21
- ปฐมธรรม_ ให้เป็นผู้หนักแน่น_บทที่20
- ปฐมธรรม_ เข้าใจธรรมเพียงบทเดียวก็เพียงพอ_บทที่19
- ปฐมธรรม_ อย่าหูเบา_บทที่18
- ปฐมธรรม_ลักษณะการพูดของอสัตบุรุษ_บทที่17
- ปฐมธรรม_ ลักษณะการพูดของสัตบุรุษ_บทที่16
- ปฐมธรรม_ลักษณะการพูดของตถาคต_บทที่15
- ปฐมธรรม_ หลักการพูด_บทที่14
- ปฐมธรรม_ การบริโภคกามคุณทั้ง5อย่างไม่มีโทษ_ บทที่13
- ปฐมธรรม_ อบายมุข6 (ทางเสื่อมแห่งทรัพย์6ทาง)_บทที่12
- ปฐมธรรม_ เหตุเสื่อมและเหตุเจริญแห่งทรัพย์_บทที่11
- ปฐมธรรม_ หลักการดำรงชีพเพื่อประโยชน์สุขในวันหน้า_บทที่10
- ปฐมธรรม_ หลักการดำรงชีพเพื่อประโยชน์สุขในวันนี้_บทที่9
- ปฐมธรรม_ ลักษณะของฆราวาสชั้นเลิศ_บทที่8
- ปฐมธรรม_ว่าด้วยความรัก4 แบบ
- ปฐมธรรม_ การตอบแทนมารดาบิดาอย่างสูงสุด_บทที่6
- ปฐมธรรม_ หลักในการใช้จ่ายทรัพย์_บทที้5
- ปฐมธรรม_ หลักปฏิบัติต่อทิศทั้ง6_บทที่4
- ปฐมธรรม_ วิญญาณคือเหตุแห่งการเกิดขึ้นของสัตว์_บทที่3
- ปฐมธรรม_ โอกาสในการเกิดเป็นมนุษย์นั้นแสนยาก_บทที่2
- ปฐมธรรม_ผู้ชี้ขุมทรัพย์
- ปฐมธรรม_คำนำ
- ปฐมธรรม_ คำอนุโมทนา
- ปฐมธรรม_พระสูตรจากหน้าปก
- อินทรียสังวร_ พินัยกรรมของพระสังฆบิดา_บทที่44
- อินทรียสังวร_ ความไม่ประมาทยังกุศลธรรมทั้งหลายให้เกิดขึ้น_บทที่43
- อินทรียสังวร_ ลักษณะของบุคคล 4 ประเภท_บทที่42
- อินทรียสังวร_ ย่อมหลุดพ้นไปจากทุกข์_บทที่41
- อินทรียสังวร_ เพราะไม่เพลินจึงละอนุสัยทั้ง 3 ได้_บทที่40
- อินทรียสังวร_ ผู้เข้าไปหาเป็นผู้ไม่หลุดพ้น ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น_บทที่39
- อินทรียสังวร_ ผู้ได้ชื่อว่าอินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศ_บทที่38
- อินทรียสังวร_ เพิ่งเห็นว่าชีวิตนั้นแสนสั้น_บทที่37
- อินทรียสังวร_ เห็นประจักษ์ตามความเป็นจริง_บทที่36
- อินทรียสังวร_ ย่อมยุบ ย่อมไม่ก่อ ย่อมขว้างทิ้งย่อมไม่ถือเอา ซึ่งขันธ์ ๕_บทที่35
- อินทรียสังวร_ ตามแนวแห่งสัมมาสังกัปปะ_บทที่34
- อินทรียสังวร_ กระจายผัสสะ_บทที่33
- อินทรียสังวร_ ผู้ที่ถึงซึ่งความเจริญงอกงามไพบูลย์ในธรรมวินัย_บทที่32
- อินทรียสังวร_ ลักษณะของผู้สำรวมอินทรีย์_บทที่31
- อินทรียสังวร_ ความหมายแห่งอินทรีย์_บทที่30
- อินทรียสังวร_ ผลที่ได้เพราะเหตุแห่งการปิดกั้นอาสวะ_บทที่29
- อินทรียสังวร_ อาสวะบางส่วนสามารถละได้ด้วยการบรรเทา_บทที่28
- อินทรียสังวร_ อาสวะบางส่วนสามารถละได้การสำรวม_บทที่27
- อินทรียสังวร_ ผู้มีอินทรียสังวรจึงสามารถเจริญสติปัฏฐานทั้งสี่ได้_บทที่26
- อินทรียสังวร_ ความไม่ประมาทเป็นยอดแห่งกุศลธรรม_บทที่25
- อินทรียสังวร_ ผู้ไม่สำรวมอินทรีย์คือผู้ประมาทผู้สำรวมอินทรีย์คือผู้ไม่ประมาท_บทที่24
- อินทรียสังวร_ อินทรียสังวรเป็นเหตุให้ได้มาซึ่งวิมุตติญาณทัศนะ_บทที่23
- อินทรียสังวร_ อินทรียสังวรปิดกั้นการเกิดขึ้นแห่งบาปอกุศล_บทที่22
- อินทรียสังวร_ กายคตาสติมีความสำคัญต่ออินทรียสังวร_บทที่21
- อินทรียสังวร_ เมื่อมีสติความเพลินย่อมดับ_บทที่20
- อินทรียสังวร_ ความเพียร 4 ประเภท (นัยที่2)_บทที่19
- อินทรียสังวร_ ความเพียร 4 ประเภท(นัยที่1)_บทที่18
- อินทรียสังวร_ ต้องเพียรละความเพลินในทุกๆอิริยาบถ_บบที่17
- อินทรียสังวร_ ทรงตรัสว่าเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องเร่งกระท_บทที่16
- อินทรียสังวร_ ในอริยมรรคมีองค์แปด_บทที่15
- อินทรียสังวร_ มีความเพลินคือมีอุปาทานผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน_บทที่14
- อินทรียสังวร_ สิ้นความอยากก็ทุกข์_บทที่ 13
- อินทรียสังวร_ ตันหา คือ เครื่องนำไปสู่ภพใหม่อันเป็นเหตุเกิดทุกข์_บทที่12
- อินทรียสังวร_ เมื่อมีความพอใจย่อมมีตันหา_บทที่ 11
- อินทรียสังวร_ ตันหาคือเชื้อแห่งการเกิด_บทที่10
- อินทรียสังวร_ ภพแม้ชั่วขณะดีดนิ้วมือก็ยังน่ารังเกียจ_บทที่9
- อินทรียสังวร_ เมื่อคิดถึงสิ่งใดแสดงว่าพอใจในสิ่งนั้น_บทที่8
- อินทรียสังวร_ ความพอใจเป็นเหตุแห่งทุกข์_บทที่7
- อินทรียสังวร_ ละความเพลินจิตหลุดพ้น_บทที่6
- อินทรียสังวร_ ไม่อาจถึงซึ่งความเจริญงอกงามไพบูลย์ในธรรมวินัย_บทที่5
- อินทรียสังวร_ ลักษณะของการอยู่อย่างมีปัญหาเป็นเพื่อน_บทที่4
- อินทรียสังวร_ เพลิดเพลินอยู่กับอายตนะเท่ากับเพลิดเพลินอยู่ในทุกข์_บทที่3
- อินทรียสังวร_ ไม่อาจจะหลุดพ้นไปได้จากทุกข์_บทที่2
- อินทรียสังวร_ก่อให้เกิดอนุสัยทั้ง3_บทที่1
- อินทรียสังวร_บทน
- อินทรียสังวร_คำอนุโมทนา
- อินทรียสังวร_ตามดูไม่ตามไป
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ ทางแห่งความสิ้นทุกข์_บทที่41
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ ที่รักที่เจริญใจในโลก_บทที่40
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ สุขทุกข์ที่เราได้ประสบมาแล้วทุกทุกรูปแบบ
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ น้ำตาที่เราได้ร้องไห้มาแล้วทั้งหมด_บทที่38
- ฆราวาสชั้นเลิศ_ สังสารวัฏไม่ปรากฏที่สุดแก่สัตว์ผู้มีอวิชชา_บทที่37
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ กัลยณมิตรคืออริยมรรค_บทที่36
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ ผู้ให้โภชนะ_บทที่35
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ เหตุที่ทำให้เป็นผู้มีรูปงามมีทรัพย์มากและสูงศักดิ์_บทที่34
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ ทานที่จัดว่าเป็นมหาทาน_บทที่33
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ ผลแห่งทาน_บทที่32
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ ห้ามผู้อื่นให้ทานชื่อว่าไม่ใช่มิตร_บทที่31
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ สังฆทานดีกว่า_บทที่30
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ การบวชที่ไร้ประโยชน์_บทที่29
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ วินิจฉัยกรรม_บทที่28
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ ฉลาดในเรื่องกรรม_บทที่27
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ วิบากกรรมอย่างเบาของหมู่สัตว์_บทที่26
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ วิธีดับกรรม_บทที่25
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ กรรมที่เป็นไปเพื่อความสิ้นกรรม_บทที่24
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ กรรมเปรียบด้วยก้อนเกือ_บทที่23
- ฆารสวาสชั้นเลิศ_ เข้าใจเรื่องกรรม_บทที่22
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_มนุษย์ผี
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ภรรยา7จำพวก
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ คู่บุพเพสันนิวาส_บทที่19
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ วาจาที่ไม่มีโทษ_บทที่18
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ วาจาของสะใภ้ใหม่_บทที่17
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ การวางจิตเมื่อถูกกล่าวหา_บทที่16
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ วิธีปฏิบัติทางจิตเมื่อถูกติเตียนหรือถูกทำร้ายร่างกาย_บทที่15
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ วาจาของอสัตบุรุษ_บทที่14
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ วาจาของสัตบุรุษ_บทที่13
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ นรกที่ร้ายกาจของมนุษย์_บทที่12
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ ฆาราวาสชั้นเลิศ_บทที่11
- ฆานาวาสชั้นเลิศ_ หลักการดำรงชีพเพื่อประโยชน์สุขในเวลาถัดมา_บทที่10
- ฆารสวาสชั้นเลิศ_ เหตุเจริญและเหตุเสื่อมแห่งทรัพย์4ประการ_บทที่9
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ หลักการดำรงชีพเพื่อประโยชน์สุขในวันนี้_บทที่8
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ ทุกข์ที่เกิดจากหนี้_บทที่6
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ ความอยากเป็นเหตุแห่งความทุกข์_บทที่6
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ สิ่งที่ทุกคนปรารถนาจะได้_บทที่5
- ฆราวาสชั้นเลิศ_ ภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้_บทที่4
- ฆราวาสชั้นเลิศ_ การตอบแทนมารดาบิดาอย่างสูงสุด_บทที่3
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ การดำรงชีพโดยทิศ6 ของฆราวาส_บทที่2
- ฆราวาสชั้นเลิศ_ ฆราวาสคับแคบเป็นทางมาแห่งธุลี_บทที่1
- ฆราวาสชั้นเลิศ_ปกหน้า_ คำอนุโมทนา_คำนำ
- อานาปานสติ_ อานิสงส์แห่งกายคตาสติ_บทที่32
- อานาปานสติ_ เหตุปัจจัยที่พระศาสนาจะตั้งอยู่นานภายหลังพุทธปรินิพพาน_บทที่31
- อานาปานสติ_ ข้อควรระวังในการเจริญสติปัฏฐานสี่_บทที่30
- อานาปานสติ_ นิวรณ์-ข้าศึกแห่งสมาธิ_บทที่29
- อานาปานสติ_ นิวรณ์เป็นเครื่องกระทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง_บทที่28
- อานาปานสติ_ ธรรมะเป็นอุปการะเฉพาะแก่อานาปานะสติภาวนา_บทที่27
- อานาปานสติ_ สัญญา 10 ประการในฐานะแห่งการรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ_บทที่26
- อานาปานสติ_ วิธีการบ่มวิมุตติให้ถึงที่สุด_บทที่25
- อานาปานสติ_ ธรรมเป็นเครื่องถอนอัสมิมานะในปัจจุบัน_บทที่24
- อานาปานสติ_เจริญอานาปานสติเป็นเหตุให้รู้ลมหายใจอันมีเป็นครั้งสุดท้ายก่อนเสียชีวิต_บทที่23
- อานาปานสติ_ เจริญอานาปานสติความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งกายและจิตย่อมมีขึ้นไม่ได้_บทที่22
- อานาปานสติ_ อานาปานสติวิหารธรรมของพระอริยะเจ้า_บทที่21
- อานาปานสติ_ อานาปานสติละได้เสียซึ่งความคับแค้น_บทที่20
- อานาปานสติ_ อานาปานสติละได้เสียซึ่งความฟุ้งซ่าน_บทที่19
- อานาปานสติ_ อานาปานสติสามารถกำจัดบาปอกุศลได้ทุกทิศทาง_บทที่18
- อานาปานสติ_ อานาปานสติเป็นสุขวิหารระงับได้ซึ่งอกุศล_บทที่17
- อานาปานสติ_ เจริญอานาปานสติชื่อว่าไม่เหินห่างจากฌาน_บทที่16
- อานาปานสติ_ เจริญอานาปานะสติมีอานิสงส์เป็นเอนกประการ(อีกสูตรนึง)_บทที่15
- อานาปานสติ_ แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก(แบบที่สอง)_บทที่14
- อานาปานสติ_ เจริญอานาปานสติมีอานิสงส์เป็นเอนกประการ_บทที่13
- อานาปานสติ_ แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก(แบบที่หนึ่ง)_บทที่12
- อานาปานสติ_ อานาปานสติสมาธิเป็นเหตุให้สิ้นอาสวะ_บทที่11
- อานาปานสติ_ อานาปานะสติสมาธิเป็นเหตุให้รับรู้ซึ่งทางไกล(อวิชชา_บทที่10
- อานาปานสติ_ อานาปานะสติสมาธิสามารถกำจัดเสียได้ซึ่งอนุสัย_บทที่9
- อานาปานสติ_ อานาปานสติสมาธิเป็นเหตุให้ละสังโยชน์ได้_บทที่8
- อ่านนาปานสติ_ อานาปานสติเป็นเหตุให้ถึงซึ่งนิพพาน_บทที่7
- อานาปานสติ_ เมื่อเจริญอานาปานสติก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ_บทที่6
- อานาปานสติ_ การเจริญอานาปานสติ_บทที่5
- อานาปานสติ_ วิชชาและวิมุตบริบูรณ์เพราะโพชฌงค์บริบูรณ์_บทที่4(4)
- อานนาปานสติ_ โพชฌงค์บริบูรณ์เพราะสติปัฏฐานบริบูรณ_บทที่4(3)
- อานาปานสติ_ สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอ่านนาปานสติบริบูรณ์_บทที่4(2)
- อานาปานสติ_ เจริญอานาปานสติเป็นเหตุให้ สติปัฏฐาน4 โพชฌงค์7 วิชชาและวิมุตติบริบูรณ์ได้_บทที่4(1)
- อานาปานสติ_ โพชฌงค์บริบูรณ์ย่อมทำวิชชาและวิมุตให้บริบูรณ์_บทที่3(3)
- อานาปานสติ_ สติปัฏฐานบริบูรณ์ย่อมทำโพชฌงค์ให้บริบูรณ์_บทที่3(2)
- เจริญอานาปานสติเป็นเหตุให้สติปัฏฐาน4โพชฌงค์7วิชชาและวิมุตบริบูรณ์_บทที่3(1)
- อานาปานสติ_ อานิสงส์แห่งอานาปานสติ 7 ประการ_บทที่2
- อานาปานสติ_ อานิสงส์สูงสุดแห่งอานาปานสติ 2ประการ_บทที่1
- อานาปานสติ_คำนำ
- อานาปานสติ_คำอนุโมทนา
- แก้กกรม_ ปฏิจจสุปบาทในฐานะเป็นกฎสูงสุดของธรรมชาติ_บทที่44
- แก้กรรม_ เครื่องนำไปสู่ภพ_บทที่43
- แก้กรรม_ เหตุเกิดของภพ_บทที่42
- แก้กรรม_ความไม่มีบุคคล ตัวตน เรา เขา_บทที่41
- แก้กรรม_ ความหมายที่แท้จริงของคำว่า “สัตว์”_บทที่40
- แก้กรรม_ เหตุเกิดของทุกข์_บทที่39
- แก้กรรม_ จะเกิดในตระกูลใดก่อนสิ้นกรรมได้_บทที่38
- แก้กรรม_ การกระทำที่เป็นไปเพื่อการสิ้นกรรม_บทที่37
- แก้กรรม_ “สิ้นตัณหา” ก็ สิ้นกรรม_บทที่36
- แก้กรรม_ ข้อปฏิบัติให้ถึงความสิ้นกรรม_บทที่35
- แก้กรรม_ บุคคล 4 จำพวก_บทที่34
- แก้กรรม_ ทำชั่วได้ชั่ว_บทที่33
- แก้กรรม_ ทุคติของผู้ทุศีล_บทที่32
- แก้กรรม_ วิบากของผู้ทุศีล_บทที่31
- แก้กรรม_ สุคติของผู้มีศีล_บทที่30
- แก้กรรม_ อนิสงส์ของการรักษาศีล_บทที่29
- แก้กรรม_ ทำไมคนที่ทำบาปกรรมอย่างเดียวกันแต่รับวิบากกรรมต่างกัน_บทที่28
- แก้กรรม_ บุพกรรมของการได้ลักษณะมหาบุรุษ_บทที่27
- แก้กรรม_ เหตุที่ทำให้มนุษย์เกิดมาต่างกัน_บทที่26
- แก้กรรม_กรรมที่ทำให้ได้รับผลเป็นความไม่ตกต่ำ_บทที่25
- แก้กรรม_ ผลของการให้ทานแบบต่างๆ_บทที่24
- แก้กรรม_เหตุให้ได้ความเป็นผู้มีรูปงามมีทรัพย์มากและสูงศักดิ์_บทที่23
- แก้กรรม_ ผู้ฉลาดในเรื่องวิบากกรรม_บทที่22
- แก้กรรม_ ระยะเวลาการให้ผลของกรรม_บทที่21
- แก้กรรม_ เชื่อว่ากรรมไม่มีอันตรายอย่างยิ่ง_บทที่20
- แก้กรรม_ ลัทธิที่เชื่อว่าสุขและทุกข์เกิดขึ้นเองลอยๆไม่มีอะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัย_บทที่19
- แก้กรรม_ ลัทธิที่เชื่อว่าสุขและทุกข์เกิดจากเทพเจ้าบันดาลให้_บทที่18
- แก้กรรม_ ลัทธิที่เชื่อว่าสุขและทุกข์เกิดจากกรรมเก่าอย่างเดียว_บทที่17
- แก้กรรม_ สุขทุกข์ที่ได้รับไม่ใช่ผลของกรรมเก่าอย่างเดียว_บทที่16
- แก้กรรม_ บาปกรรมเก่าไม่อาจสิ้นได้ด้วยการทรมานตน_บทที่15
- แก้กรรม_ ทางสองสายที่ไม่ควรเดิน_บทที่14
- บทสวดปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
- แก้กรรม_ ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีเหตุปัจจัย_บทที่13
- แก้กรรม_ การพยากรณ์บุคคลอื่นทำได้หรือไม่_บทที่12
- แก้กรรม_หลักพิจารณาว่ากรรมฉีดนั้นควรทำหรือไม่_ เมื่อกระทำแล้ว_บทที่11
- แก้กรรม_หลักพิจารณาว่ากรรมฉีดนั้นควรทำหรือไม่_ เมื่อกระทำอยู่_บทที่10
- แก้กรรม_หลักพิจารณาว่ากรรมฉีดนั้นควรทำหรือไม่_ เมื่อจะกระทำ_บทที่9
- แก้กรรม_ กรรมทางใดมีโทษมากที่สุด_บทที่8
- แก้กรรม_ กายนี้เป็น “กรรมเก่า”_บทที่7
- แก้กรรม_ อะไรคือกรรมเก่าและกรรมใหม่_บทที่6
- แก้กรรม_ แบ่งตามการกระทำและผลที่ได้รับ_บทที่5
- แก้กรรม_สิ่งที่ไม่ควรคิด_บทที่4
- แก้กรรม_ ว่าด้วยเหตุเกิดของกรรม3อย่าง_บทที่3
- แก้กรรม_ว่าด้วยเหตุเกิดของกรรม3อย่าง_บทที่2
- แก้กรรม_ รายละเอียดที่บุคคลควรทราบเกี่ยวกับกรรม_บทที่1
- แก้กรรม_คำนำ
- มรรควิธีที่ง่าย_ ปฏิปทาของการสิ้นอาสวะ 4 แบบ_บทที่31
- มรรควิธีที่ง่าย_ ผู้เกียจค้านตลอดเวลา_บทที่30
- มรรควิธีที่ง่าย_ ผู้มีความเพียรตลอดเวลา_บทที่29
- มรรควิธีที่ง่าย_ ปฏิปทาเพื่อการบรรลุมรรคผลของบุคคลทั่วไป_นัยที่4_บทที่28
- มรรควิธี่ที่ง่าย_ ปฏิปทาเพื่อการบรรลุมรรคผลของบุคคลทั่วไป_นัยที่3_บทที่27
- มรรควิธี่ที่ง่าย_ปฏิปทาเพื่อการบรรลุมรรคผลของบุคคลทั่วไป_นัยที่2_บทที่26
- มรรควิธีที่ง่าย_ ปฏิปทาเพื่อบรรลุมรรคผลของบุคคลทั่วไป(นัยที่1)_บทที่25
- มรรควิธีที่ง่าย_ ปฏิปทาเพื่อบรรลุมรรคผลของคนเจ็บไข้_บทที่24
- มรรควิธีที่ง่าย_ การเห็นซึ่งความไม่เที่ยง_บทที่23
- มรรควิธีที่ง่าย_ ธรรมทั้งปวงไม่ควรยึดมั่น_บทที่22
- มรรควิธีที่ง่าย_ มีสติ มีสัมปชัญญะ รอคอยการตาย_บทที่21
- มรรควิธีที่ง่าย_ สักแต่ว่า(นัยที่2)_บทที่20
- มรรควิธีที่ง่าย_สักแต่ว่า(นัยที่1)_บทที่19
- มรรควิธีที่ง่าย_ เมื่อไม่มีมาไม่มีไปย่อมไม่มีเกิดและไม่มีดับ_บทที่18
- มรรคควิธีที่ง่าย_ เจริญอริยมรรคมีองค์แปดด้วยวิธีลัด_บทที่17
- มรรค วิธีที่ง่าย_ กระจายเสียงซึ่งผัสสะ_บทที่16
- มรรควิธีที่ง่าย_ ปฏิปทาเป็นที่สบายแก่การบรรลุนิพพาน(นัยที่4)_บทที่15
- มรรควิธีที่ง่าย_ ปฏิปทาเป็นที่สบายแก่การบรรลุนิพพาน-นัยที่3_บทที่14
- มรรควิธีที่ง่าย_ ปฏิปทาเป็นที่สบายแก่การบรรลุนิพพาน-นัยที่2_บทที่13
- มรรควิธีที่ง่าย_ ปฏิปทาเป็นที่สบายแก่การบรรลุนิพพาน-นัยที่1_บทที่12
- มรรควิธีที่ง่าย_ เจริญอานาปานสติเป็นเหตุให้ โพชฌงค์บริบูรณ์ย่อมทำวิชาและวิมุตติให้บริบูรณ์_บทที่11-3
- มรรควิธีที่ง่าย_ เจริญอานาปานสติเป็นเหตุให้สติปัฏฐานบริบูรณ์ย่อมทำโพชฌงค์ให้บริบูรณ์_บทที่11-2
- มรรควิธีที่ง่าย_ เจริญอานาปานะสติเป็นเหตุให้สติปัฏฐานสี่บริบูรณ์_บทที่11-1
- มรรควิธีที่ง่าย_ อานิสงส์สูงสุดแห่งอานาปานสติ 2ประการ_บทที่10
- มรรควิธีที่ง่าย_ ตั้งจิตในกายคตาสติเสมือนบุรุษผู้ถือหม้อน้ำใหม่_บทที่9
- มรรควิธีที่ง่าย_ กระดองของบรรพชิต_บทที่8
- มรรควิธีที่ง่าย_ กายคตาสติเป็นเสาหลักเสาเขื่อนอย่างดีของจิต_บทที่7-2
- มรรควิธีที่ง่าย_ กายคตาสติเป็นเสาหลักเสาเขื่อนอย่างดีของจิต_บทที่7-1
- มรรควิธีที่ง่าย_ ความดับทุกข์มีเพราะความดับไปแห่งความเพลิน(นันทิ)_บทที่6
- มรรควิธีที่ง่าย_ สิ้นนันทิสิ้นราคะก็สิ้นทุกข์_บทที่5
- มรรควิธีที่ง่าย_ พรหมจรรย์นี้อันบุคคลย่อมประพฤติเพื่อการละขาดซึ่งภพ_บทที่4
- มรรควิธีที่ง่าย_ จิตมีตัณหาเรียกว่าอยู่สองคน จิตไม่มีตัณหาเรียกว่าอยู่คนเดียว_บทที่3
- มรรค วิธีที่ง่าย_ ผู้เข้าไปห้าเป็นผู้ไม่รู้ผลผู้ไม่เข้าไปหาย่อมเป็นผู้หลุดพ้น_บทที่2
- มรรควิธีที่ง่าย_ ภพแม้ชั่วขณะดีดนิ้วมือก็ยังน่ารังเกียจ_บทที่1
- มรรควิธีที่ง่าย_บทนำ
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ คำชี้ชวนวิ่งวอน_บทที่43(บทสุดท้าย)
- ก้าวย่างอย่างพุทธ_ ธรรมส่วนแห่งวิชชา_บทที่42
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ผู้หลุดพ้นได้เพราะไม่ยึดมั่นถือมั่น_บทที่41
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ การปรินิพพาน_บทที่40
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ นิพพานเพราะไม่ยึดถือธรรมที่ได้บรรลุ_บทที่ 39
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ปัญญาสติกับนามรูปดับเพราะวิญญาณดับ_บทที่ 38
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ปฏิจจสมุปบาทคือทำอันเป็นธรรมชาติ อาศัยกันแล้วเกิดขึ้น_บทที่37
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ กฏอิทัปปัจจยตาหรือหัวใจปฏิจจสุปบาท_บทที่36
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ หมดอาหารก็นิพพาน_บทที่35
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ เหตุให้ไม่ปรินิพพานในปัจจุบัน_บทที่34
- ก้าวย่างอย่างพุทธ_ ตถาคตเป็นเพียงผู้บอกทางจะถึงที่หมายต้องเดินเอาเอง_บทที่33
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ สิ้นกิเลสก็แล้วกันไม่ต้องรู้ว่าสิ่งไปเท่าไหร่_บทที่32
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ลักษณะแห่งอินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศ_บทที่31
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ผู้อยู่ใกล้นิพพาน_บทที่30
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ปาฏิหาริย์สาม_บทที่29
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ คุณสมบัติของโสดาบัน_บทที่28
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ความเป็นโสดาบันประเสริฐกว่าเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ_บททึ่27
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ อริยสัจ-ปฏิจจสมุปบาท_บทที่26
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ สมาธิทุกขั้นตอนใช้เป็นบาทฐานในการเข้าวุมุตติได้ทั้งหมด_บทที่24
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ขยายความแห่งอริยมรรคมีองค์แปด_บทที่23
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด_บทที่22
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ อาการเกิดดับแห่งเวทนา_บทที่21
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ทิ้งเสียนั่นแหละกลับจะเป็นประโยชน์_บทที่20
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ วิธีที่สะดวกสบายเพื่อการดับของกิเลส_บทที่19
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยการละนันทิ_บทที่18
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ความดับทุกข์มีเพราะความดับแห่งนันทิ_บทที่17
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ อาการเกิดแห่งทุกข์โดยสังเขป_บทที่16
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์_บทที่15
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ หลักเกณฑ์การเลือกสถานที่และบุคคลที่ควรเสพและไม่ควรเสพ_บทที่14
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ลำดับการปฎิบัติเพื่อรู้ตามซึ่งสัจธรรม_บทที่13
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ บทอธิฐานจิตเพื่อทำความเพียร_บทที่12
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ การทำความเพียรแข่งกับอนาคตภัย_ บทที่11
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ความรู้สึกที่ถึงกับทำให้ออกผนวช_บทที่10
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ_บทที่9
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ_บทที่8
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ รายชื่อแห่งธรรมเป็นที่ตั้งแห่งการขูดเกลา_บทที่7
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_จะเกิดในตระกูลสูงหรือต่ำก็สามารถทำนิพพานให้แจ้งได้_บทที่6
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ผู้ไม่ลงเอาสิ่งอื่นมาเป็นแก่น_บทที่5
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ ให้พึ่งตนพึ่งธรรม-บทที่4
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ การรู้อริยสัจเป็นของไม่เหลือวิสัย พระอริยะบุคคลจึงมีปริมาณมาก_บทที่3
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_ สัตว์กลับมาเกิดเป็นมนุษย์มีน้อยเพราะไม่รู้อริยสัจ-บทที่2
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_มนุษย์เป็นอันมากได้ยึดถือเอาที่พึ่งผิดๆ_บทที่1
- ก้าวย่างอย่างพุทธะ_บทนำ
- โสดาบัน_ธรรมที่ควรสงเคราะห์_บทที่53
- โสดาบัน_ ธรรมเจ็ดประการของผู้ตั้งอยู่ในโสดาปฏิผล_บทที่52
- โสดาบัน_คุณธรรมของผู้ต่ำกว่าโสดาปัตติมรรคและเป็นเหตุให้ไม่ไปสู่อบายในชาตินั้น_บทที่51
- โสดาบัน_ ผู้ตั้งอยู่ในเสขภูมิ(บทที่50)
- โสดาบัน_ อานิสงส์ของธรรมสี่ประการ(บทที่49)
- โสดาบัน_ ผู้ถึงไตรสรณคมน์ไม่ไปสู่วินิบาต
- โสดาบัน_ความต่างเห็นผลเพราะความต่างแห่งอินทรีย์
- โสดาบัน_ คุณสมบัติพระโสดาบัน(นัยที่4)_บทที่48
- โสดาบัน_คุณสมบัติพระโสดาบัน(นัยที่3)_บทที่47
- โสดาบัน_คุณสมบัติพระโสดาบัน(นัยที่2)_บทที่46
- โสดาบัน_ คุณสมบัติพระโสดาบันใน(นัยที่1)_บทที่45
- โสดาบัน_ สัมมาทิฏฐิโลกุตระนานาแบบบทที่44-ตอนที่5
- โสดาบัน_ สัมมาทิฏฐิโลกุตระนานาแบบบทที่44-ตอนที่4
- โสดาบัน_ สัมมาทิฏฐิโลกุตระนานาแบบบทที่44-ตอนที่3
- โสดาบัน_ สัมมาทิฏฐิโลกุตระนานาแบบบทที่44-ตอนที่2
- โสดาบัน_สัมมาทิฏฐิโลกุตระนานาแบบ_บทที่44ตอนที่1
- โสดาบัน_ ผู้สามารถละอาสวะทั้งหลายในส่วนที่ละได้ด้วยการเห็น(บทที่43)
- โสดาบัน_ ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพระอริยเจ้า(บทที่42)
- โสดาบัน_ ระวังตายคาประตูนิพพาน(บทที่41)
- โสดาบัน_บทที่40_ผลแปดประการอันเป็นภาพรวมของความเป็น
- โสดาบัน_ คนมีกิเลสตกนรกทุกคนจริงหรือ(บทที่39)
- โสดาบัน_ คนตกน้ำเจ็ดจำพวก(บทที่38)
- โสดาบัน_ความลดหลั่นแห่งพระอริยะบุคคลผู้ปฏิบัติอย่างเดียวกัน(บทที่37)
- พระโสดาบันกับพระอรหันต์ต่างกันในการเห็นธรรม(อีกนัยหนึ่ง)(บทที่36)
- โสดาบัน_ พระโสดาบันกับพระอรหันต์ต่างกันในการเห็นธรรม(บทที่35)
- โสดาบัน_ ลักษณะแห่งผู้เจริญอินทรีย์ขั้นอริยะ(บทที่34)
- โสดาบัน_ สามัญญผลในพุทธศาสนาเทียบกันไม่ได้กับในลัทธิอื่น(บทที่33)
- โสดาบัน_ ฝุ่นปลายเล็บ (บทที่32)
- โสดาบัน_ อริยญายธรรม คือการเรียนรู้ปฏิจจสมุปบาท (บทที่31)
- โสดาบัน_สังโยชน์ 10 (บทที่30)
- โสดาบัน_คำที่ใช้เรียกแทนความเป็นพระโสดาบัน(บทที่29)
- โสดาบัน_ผู้สิ้นความสงสัยในก็รณีของความเห็นที่เป็นไปในลักษณะขาดสูญ(บทที่ 20)
- โสดาบัน_อริยมรรคมีองค์แปด(บที่28)
- โสดาบัน_ผู้สิ้นความสงสัยในกรณีของความเห็นที่เป็นไปในลักษณะยึดถือตัวตน(บทที่19)
- โสดาบัน_ ผู้มีธรรมมญานและอันวยญาณ(พระโสดาบัน)
- โสดาบัน_ ฐานะที่เป็นไปไม่ได้สำหรับผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ(นัยที่สาม)
- โสดาบัน_ ฐานะที่เป็นไปไม่ได้สำหรับผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ(นัยที่สอง)
- โสดาบัน_ ผู้รู้ปฏิจจสมุปบาทแต่ละสายถึงเหตุเกิดและความดับทั้งปัจจุบันอดีตอนาคตก็ชื่อว่าโสดาบัน(ญาณวัตถุ 77)
- โสดาบัน_อริยมรรคมีองค์แปด
- โสดาบัน_ฐานะที่เป็นไปไม่ได้สำหรับผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิพระโสดาบัน#นัยที่สอง
- โสดาบัน_ฐานะที่เป็นไปไม่ได้สำหรับผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐินัยที่สาม
- โสดาบัน_ผู้รู้ปฏิจจสมุปบาทแต่ละสายโดยนัยแห่งอริยสัจสี่_ญาณวัตถุ44#1
- โสดาบัน_ฐานะที่เป็นไปไม่ได้สำหรับพผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฑิ (นัยที่หนึ่ง)
- โสดาบัน_สิ่งที่ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิทำไม่ได้โดยธรรมชาติ
- โสดาบัน_ ความเป็นพระโสดาบันไม่อาจ แปปรแปรปรวน
- โสดาบัน_พระโสดาบันคือผู้เห็นชัดรายละเอียดแต่ละสายของปฏิจจสมุปบาทตลอดสายโดยนัยยะแห่งอริยสัจสี่(เห็นตลอดสายนัยที่สอง)
- โสดาบัน_ความเป็นโสดาบันประเสริฐกว่าเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ
- โสดาบัน_ผลแห่งความเป็นโสดาบัน
- โสดาบัน_พระโสดาบันคือผู้เห็นชัดรายละเอียดแต่ละสายคลองปฏิจจสมุปบาทตลอดทั้งสายโดยนัยยะแห่งอริยสัจสี่
- โสดาบัน_หลักเกณฑ์พยากรณ์ภาวะโสดาบันด้วยตนเอง
- โสดาบัน_พระโสดาบันมีญาณอย่างรู้เหตุให้เกิดขึ้นและเหตุให้ดับไปของโลก
- โสดาบัน_ละสังโยชน์สามและกรรมที่พาไปอบายคือโสดาบัน
- โสดาบัน_พระโสดาบันละสังโยชน์ได้สามข้อมีสามจำพวก
- โสดาบัน_พระโสดาบันเป็นผู้บริบูรณ์ในศีลได้พอประมาณในสมาธิและปัญญา
- โสดาบัน_โสดาปัตติผล
- โสดาบัน_โสดาปัตติมรรค2จำพวก
- โสดาบัน_พระโสดาบันรู้จักอินทร์หก
- โสดาบัน_พระโสดาบันรู้จักปัญจุปาทานขันธ์
- โสดาบัน_พระโสดาบันประกอบพร้อมแล้วด้วย อริยมรรคมีองค์แปด
- โสดาบัน_พระโสดาบันเป็นใคร#EP2
- โสดาบัน_พระโสดาบันเป็นใคร-EP1
- โสดาบัน_แว่นส่องความเป็นพระโสดาบัน
- โสดาบัน_ชื่อของโสดาบัน
- ตามรอยธรรม_อานิสงส์แห่งการฟังธรรมเนืองๆ-2/2
- ตามรอยธรรม_อานิสงส์แห่งการฟังธรรมเนืองๆ-1/2
- ตามรอยธรรม_ทรงเป็นผู้เอ็นดูเกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ทั้งปวง
- ตามรอยธรรม_ตั้งหน้าทำก็แล้วกัน
- ตามรอยธรรม_การปรินิพพานในปัจจุบัน
- ตามรอยธรรม_ถุงธรรม
- ตามรอยธรรม_ผู้ใดเห็นธรรมผู้นั้นเห็นเรา
- ตามรอยธรรม_ทรงประกาศธรรมเนื่องด้วยการปลงอายุสังขาร
- ตามรอยธรรม_ทรงมีความชราทางกายภาพเหมือนคนทั่วไป
- ตามรอยธรรม_สิ่งนั้นหาพบในกายนี้
- ตามรอยธรรม_ที่สุดแห่งการท่องเที่ยวของพระองค์
- ตามรอยธรรม_ต้องท่องเที่ยวมาแล้วเพราะไม่รู้อริยสัจสี่
- รอยธรรม_ดับตัณหาคือปลงภาระหนักลงได้
- ตามรอยธรรม_ผู้แบกของหนัก
- ตามรอยธรรม_อาการดับแห่งตันหาในนามแห่งนันทิ
- ตามรอยธรรม_ความดับทุกข์มีเพราะความดับแห่งนันทิ
- ตามรอยธรรม_เมื่อเธอไม่มี
- ตามรอยธรรม_ทางลอดสำหรับภิกษุไข้
- ตามรอยธรรม_ผู้ไม่ประมาทในความตายแท้จริง
- ตามรอยธรรม_วิหารธรรมที่ทรงอยู่มากตลอกพรรษาและทรงสรรเสริญมาก
- มรอยธรรม_วิหารธรรมที่ทรงอยู่มากที่สุดก่อนตรัสรู้
- ตามรอยธรรม_ผู้มีหลักเสาเขื่อน
- ตามรอยธรรม_กระดองของบรรพชิต
- ตามรอยธรรม_ท่อนไม้ที่ลอยออกไปได้ถึงทะเล
- ตามรอยธรรม_ตถาคตเป็นเพียงผู้บอกทางเท่านั้น
- ตามรอยธรรม_ทรงฆ่าผู้ที่ไม่ได่รับการฝึก
- ตามรอยธรรม_ทรงเป็นพี่เลี้ยงให้แก่สาวกชั่วระยะเวลาจำเป็น
- ตามรอยธรรม_ทรงมีหลักเกณฑ์การฝึกตามลำดับ
- ตามรอยธรรม_จงเจริญสมาธิจากรู้อริยสัจตามเป็นจริง
- ตามรอยธรรม_มนุษย์เป็นอันมากได้ยึดถือเอาที่เพิ่งผิดๆ
- ตามรอยธรรม_ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น
- ตามรอยธรรม_ ลำดับการหลุดพ้นเมื่อเห็นไตรลักษณ์
- ตามรอยธรรม_คำสอนที่ทรงสั่งสอนบ่อยมาก
- ตามรอยธรรม_ถ้ามัวรอให้รู้เรื่องที่ไม่จำเป็นเสียก่อนก็ตายเปล่า
- ตามรอยธรรม_สิ่งที่ตัดสระรู้แต่ไม่ส่งนำมาสอนมีมากกว่าที่ส่งนำมาสอนหนักหนัก
- ตามรอยธรรม_ หลักที่ทรงใช้ในการตรัส(6อย่าง)
- ตามรอยธรรม_คำของพระองค์ตรงเป็นอันเดียวกันหมด
- ตามรอยธรรม_ทรงสอนเฉพาะแต่เรื่องทุกข์กับความดับสนิทของทุกข์
- ตามรอยธรรม_ไม่ได้ส่งประพฤติพรหมจรรย์เพื่อให้เขานับถือ
- ตามรอยธรรม_ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างสัมมาสัมพุทธะ กับภิกษุผู้ปัญญาวิมุตติ
- ตามรอยธรรม_โลกจะไม่ว่างจากพระอรหันต์
- ตามรอยธรรม_ขยายความแห่งอริยมรรคมีองค์แปด
- ตามรอยธรรม_กัลยาณมิตรของพระองค์เอง
- ตามรอยธรรม_การสนทนากับพระอานนท์เรื่องกัลยาณมิตร
- ตามรอยธรรม_การรู้อริยสัจสี่ทำให้มีตาสมบูรณ์
- ตามรอยธรรม_อริยสัจสี่โดยสังเขป
- ตามรอยธรรม_จงสงเคราะห์ผู้อื่นด้วยการให้รู้อริยสัจ
- ตามรอยธรรม_พระองค์ทรงพระนามว่าอนันตสัมมาสัมพุทธะก็เพราะได้ตรัสรู้อริยสัจสี่
- ตามรอยธรรม_พระพุทธเจ้าทั้งในอดีตอนาคตและในปัจจุบันล้วนแต่ตรัสรู้อริยสัจสี่
- ตามรอยธรรม_ทรงแสดงเรื่องที่เป็นไปได้ยากเกี่ยวกับพระองค์เอง
- ตามรอยธรรม_ผู้ชี้ขุมทรัพย์
- ตามรอยธรรม_เนื้อแท้ที่ไม่อันตรธาน
- ตามรอยธรรม_เปิดธรรมที่ถูกปิด
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ทางแห่งความสิ้นทุกข์
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ที่รักที่เจริญใจในโลก
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ สุขทุกข์ที่เราได้ประสบมาแล้วทุกทุกรูปแบบ
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_น้ำตาที่เราได้ร้องไห้มาแล้วทั้งหมด
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_สังสารวัฏ ไม่ปรากฏที่สุดแก่สัตว์ผู้มีอวิชชา
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_เหตุที่ทำให้เป็นผู้มีรูปงาม มีทรัพย์มากและสูงศักดิ์
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ผู้ให้โภชนะ
- ฆราวาสชั้นเลิศ_สังสารวัฏไม่ปรากฏที่สุดแก่สัตว์ผู้มีอวิชชา
- พุทธวจน_ผู้มีราตรีหนึ่งเจริญ
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_กัลยณมิตรคืออริยมรรค
- ฆาราวาสชั้นเชิศ_เหตุให้เป็นผู้มีรูปงามมีทรัพย์มากและสูงศักดิ์
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ทานที่จัดว่าเป็นมหาทาน
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ผลแห่งทาน#2
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ผลแห่งทาน
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ทางแห่งความสิ้นทุกข์
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ห้ามผู้อื่นให้ทาน ชื่อว่าไม่ใช่มิตร
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_สังฆทานดีกว่า
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_การบวชที่ไร้ประโยชน์
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_วินิจฉัยกรรม
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ฉลาดในเรื่องกรรม
- ฆราวาสชั้นเลิศ_วิบากกรรมอย่างเบาของหมู่สัตว์
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_วิธีดับกรรม
- กรรมที่เป็นไปเพื่อความความสิ้นกรรม
- าราวาสชั้นเลิศ_กรรมเปรียบด้วยก้อนเกลือ
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_เข้าใจเรื่องกรรม
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_มนุษย์ผี
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ภรรยา7จำพวก
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_คู่บุพเพสันนิวาส
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_วาจาที่ไม่มีโทษ
- คาราวาสชั้นเลิศ_วาจาของสะใภ้ใหม่
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_การวางจิตเมื่อถูกกล่าวหา
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_เมื่อถูกกล่าวหา
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_วิธีปฏิบัติทางจิต เมื่อถูกติเตียนหรือถูกทำร้ายร่างกาย
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_วาจาของอสัตบุรุษ
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_วาจาของสัตบุรุษ
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_นรกที่ร้ายกาจของมนุษย์
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ฆาราวาสชั้นเลิศ
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_หลักการดำรงชีพเพื่อประโยชน์สุขในเวลาถัดมา
- ฆาราวาสชั่นเลิศ_เหตุเจริญและเหตุเสื่อมแห่งทรัพย์4ประการ
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_หลักการดำรงค์ชีพเพื่อประโยชน์สุขในวันนี้
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ทุกข์ที่เกิดจากหนี้
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ความอยากเป็นเหตุแห่งความทุกข์
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_สิ่งที่ทุกคนปราถนาจะได้
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_ภรรยา7จำพวก
- าวาวชั้นเลิศ_ภัยที่มารดาและบุตรก็ช่วยกันไม่ได้
- ฆานาวาสชั้นเลิศ_การตอบแทนมารดาบิดาอย่างสูงสุด
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_การใช้สรอยโภคทรัพย์
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_การดำรงค์ชีพชอบโดยทิศ6
- ฆาราวาสชั้นเลิศ_เนื้อป่าที่ไม่ติดบ่วง
- ฆาราวาสวาสชั่นเลิศ_ ทุกข์เกิดจากหนี
- ฆราวาสชั้นเลิศ_ ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธีลึ
- Buddhawajana_ปฏิจสมุปบาท
- ปฏิจสมุปบาท
- Buddhawajana
- Test